ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนคุระบุรี

รหัสโครงการ ศรร.1413-097 รหัสสัญญา 58-00-2265 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กืจกรรม STEM ศึกษา

ขั้นตอนแรกคือคัดเลือกพืชที่ปลูกในโรงเรียนเพื่อนำมาศึกษา หลังจากนั้นร่วมกันจ้ดทำแผนการจัดการเรียนรู้STEM ศึกษา โดยครูวิชาวิทยาศาสตร์วิชาเทคโนโลยีวิชาาิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึ่งพืชที่เลือกก็คือ บวบ แล้วนำมา บูรณาการการเรียนการสอนเรื่องบวบกับ วิชาวิทยาศาสตร์วิชาเทคโนโลยีวิชาาิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ในห้องเรียน ให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง และบันทึกผลการเรียนรู้

จัดการเรียนการสอน แบบ STEM ศึกษา โดยคัดเลือกพืชชนิดอื่นที่ปลูกในโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์นักเรียน

การดำเนินการสหกรณ์นักเรียนให้ดำเนินการโดยนักเรียนทั้งหมดโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai schoollunch

ดำเนินการโดยส่งครูเข้าอบรมThai schoollunch แล้วนำความรู้มาขยายผลต่อครู นักเรียน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดเมนูอาหาร แล้วให้ฝึกคำนวนคุณค่าทางโภชนาการ แต่ต้องคำนึงถึงวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น นำเมนูอาหารที่ได้มาจัดทำเป็นรายเดือน ให้โครงการอาหารกลางวันจัดทำอาหารกลางวันตามเมนู

จัดทำเมนูอาหารกลางวันให้ครบทั้งภาคเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรมแก้มใสไร้พุง

ติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนทั้งโรงเรียน คัดแยกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ เข้าร่วมกิจกรรมแก้มใสไร้พุง โดยให้นักเรียนได้ออกำลังกายโดยใช้ฮูล่าฮูปทุกวันหลังเลิกเรียน วันละ 1 ชั่วโมงทุกวัน โดยบันทึกน้ำหนักก่อนร่วมกิจกรรมและ ระหว่างการทำกิจกรรมทุกๆเดือนปรากฏว่าน้ำหนักของนักเรียนลดลง

ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป แต่ใข้วิธีการออกกำลังกาย แบบ บาสโลป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมเด็กดีคุระบุรี..ยิ้มสวย

ให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพฟันโดยครูและเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล จ้ดกิจกรรมให้นักเรียนแปรงฟันพร้อมกันหลังทานอาหารกลางวัน และมีการประกวดเด้กดีคุระบุรี..ยิ้มสวย โดยให้เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลเป็นผู้ตัดสิน และมอบของรางวัลเป็นกำลังใจ

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยมีกิจกรรมแปรงฟันโดยใช้เพลงประกอบ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม คุระบุรีไม่่มีถังขยะ

ระดมความคิดในการทำให้โรงเรียนคุระบุรีสะอาด ไร้ขยะ เป็นที่ชื่นชมของผู้มาเยี่ยมเยียน หลังจากนั้นเริ่มกิจกรรมโดยเก็บถังขยะที่มีอยู่ทั้งหมดออกไป ให้นักเรียนจัดการด้วยตนเองที่ไม่ให้มีขยะแม้เพียงชิ้นเดียวตกอยู่ในโรงเรียน โดยเก็บใส่กระเป๋ากลับบ้าน ไปทิ้งที่บ้าน หรือช่วยกันค้ดแยกจากห้องเรียนแล้วนำไปจัดการอย่างถูกวิธี สุขนิสัยในการดูแลเรื่องขยะก็เริ่มปลูกฝังให้เกิดขี้นกับนักเรียนทุกคน จนโรงเรียนคุระบุรีไม่มีถังขยะ และไม่มีขยะจริงๆ

ดำเนินกิจกรรม คุระบุรีไม่มีถังขยะต่อไปทุกปีการศึกษาและขยายผลต่อโรงเรียนอื่น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรมโรงพยาบาลพบนักเรียน

โรงพยาบาลคุระบุรีชัยพัฒนามีโครงการโรงพยาบาลพบนักเรียนโดยการมาให้ความรู้เรื่องสุขภาพ และให้บริการตรวจสุขภาพปากและฟันให้กับนักเรียนโดยมารับนักเรียนไปรับบริการที่โรงพยาบาลอย่างจ่อเนื่อง

ดำเนินกืจกรรมนี่ต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้สู่กิจกรรมเด็กไทยแก้มใส

จัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ โดยนำองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบจากกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสเข้ามาเป็นกิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอนนอกห้องเรียน ให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง มีระบบการจัดการเรียนรู้ตามความชอบและสนใจบนพื้นฐานของกิจกรรม 8 องค์ประกอบนำผลผลิตที่ได้มาจัดนิทรรศการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบของตลาดนัดวิชาการและตลาดนัดแก้มใส

นำกิจกรรมมาต่อยอดโดยให้นักเรียนสามารถสร้างหรือคิดผลิตผลงาน หรือสร้างนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆให้สามารถสรัางรายได้สร้างอาชีพได้ในอนาคต

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. โรงพยาบาลคุระบุรี ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน 2.สำนักงานเกษตรอำเภอคุระบุรี ให้ความร่วมมือและสนับสนุน พันธ์ุผักและให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด3.สำนักงานเทศบาลตำบลคุระบุรีสนับสนุนเรื่องการกำจัดขยะที่ถูกวิธี4.ประมงอำเภอคุระบุรีให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา5.ปศุสัตว์อำเภอคุระบุรี ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

1.โรงเรียนคุระบุรีมีพื้นที่เอื้ออำนวยจำนวน 37 ไร่ 3 งาน 48 ตารางวา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่กว้าง มีบริเวณที่เหมาะสำหรับการทำการเกษตร2.ระบบสาธารณูปโภคที่เพียงพอและปลอดภัย 3.ชุมชนที่ให้การสนับสนุน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

1.ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนกิจกรรมตลอดการดำเนินงาน2.ครูและบุคลากรในโรงเรียนให้ความร่วมมือ 3.นักเรียนเรียนรู้และปฏิบัติตาม4.สร้างแนวร่วมและเครือข่าย

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครู นักเรียนและแม่ครัวได้รับการอบรมเติมเสริมความรู้อย่างต่อเนื่อง นำความรู้ที่ได้รับมาขยายสู่บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติได้ถูกต้องและทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้จากการขยายผลของครู นักเรียนและแม่ครัว และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆกับนักเรียน ตลอดจนให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรณ์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการปลูกผักหลากหลายชนิด และนำมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนได้เพียงพอ

ภาพผลผลิตทางการเกษตร

ปลูกผักหลายชนิดเพื่ออาหารกลางวันและจำหน่ายสู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนคุระบุรีเลี้ยงไก่ไข่และนำไข่มาประกอบอาหารกลางวันได้เพียงพอกับนักเรียน และจำหน่ายแก่บุคคลอื่น

เมนูอาหารกลางวันที่มีไข่เป็นวัตถุดิบ และภาพถ่ายการเลี้ยงไก่

ดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่ในทุกปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกเพื่อการศึกษาและจำหน่ายให้กับชุมชน เนื่องจาก ปลาดุกไม่เป็นที่นิยมในการประกอบอาหาร และนักเรียนไม่นิยมรับประทาน

ภาพถ่ายการเลี้ยงปลาดุก

หาพันธุ์ปลาอื่นมาเลี้ยง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนมีการบริการอาหารเช้าสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

บันทึกการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียน ภาพถ่าย

ดำเนืนการต่อในปีการศึกษาต่อไป

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เมนูอาหารของทุกวันจะประกอบด้วยเมนูผักทุกวัน และมีผลไม้สหรับนักเรียนทุกวัน

เมนูอาหาร และภาพถ่ายการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เมนูอาหารของทุกวันจะประกอบด้วยเมนูผักทุกวัน และมีผลไม้สหรับนักเรียนทุกวัน

เมนูอาหาร และภาพถ่ายการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โครงการอาหารกลางวันมีการซื้อผักและผลไม้จากผู้ผลิตโดยตรงบ้างตามโอกาส

ภาพกิจกรรม

ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษจากหลายๆแหล่ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนคุระบุรีใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียนใน 1 เดือน แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงบ้างตามวุตถุดิบในท้องถิ่น

ตารางเมนูอาหาร

ดำเนินการจัดเมนูหมุนเวียนใน1 ภาคเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนคุระบุรีมีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง โดยปกติ และบันทึกผลเปรียบเทียบ โดยครูอนามัย และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล

บันทึกภาวะโภชนาการ

ดำเนินการต่อทุกปีการศึกษา

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/2
เตี้ย 2.42 2.42% 2.27 2.27% 2.80 2.80% 2.50 2.50% 2.63 2.63% 2.85 2.85% 3.25 3.25% 2.60 2.60% 2.97 2.97% 2.97 2.97% 2.71 2.71% 2.93 2.93% 3.22 3.22% 3.36 3.36% 3.00 3.00%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.81 7.81% 7.90 7.90% 7.05 7.05% 6.35 6.35% 7.25 7.25% 6.95 6.95% 8.60 8.60% 7.07 7.07% 7.89 7.89% 7.68 7.68% 10.85 10.85% 10.72 10.72% 10.47 10.47% 8.46 8.46% 10.25 10.25%
ผอม 1.98 1.98% 2.06 2.06% 2.18 2.18% 2.29 2.29% 1.26 1.26% 3.16 3.16% 2.70 2.70% 2.29 2.29% 3.28 3.28% 3.28 3.28% 2.51 2.51% 3.13 3.13% 2.01 2.01% 3.36 3.36% 3.11 3.11%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.46 9.46% 7.68 7.68% 7.78 7.78% 7.80 7.80% 8.61 8.61% 8.54 8.54% 8.84 8.84% 7.48 7.48% 9.12 9.12% 8.62 8.62% 10.35 10.35% 10.62 10.62% 9.97 9.97% 10.30 10.30% 9.52 9.52%
อ้วน 5.94 5.94% 6.06 6.06% 6.54 6.54% 6.45 6.45% 6.09 6.09% 6.64 6.64% 5.41 5.41% 5.09 5.09% 6.05 6.05% 6.05 6.05% 5.53 5.53% 5.76 5.76% 6.95 6.95% 6.42 6.42% 4.55 4.55%
เริ่มอ้วน+อ้วน 12.87% 12.87% 12.01% 12.01% 11.72% 11.72% 11.76% 11.76% 10.50% 10.50% 11.80% 11.80% 11.54% 11.54% 10.40% 10.40% 11.17% 11.17% 10.67% 10.67% 10.55% 10.55% 12.13% 12.13% 13.29% 13.29% 12.44% 12.44% 11.08% 11.08%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558- ปีการศึกษา 2559 ภาวะเริ่มอ้วนและภาวะอ้วนลดลง เนื่องจากไ้ด้ทำกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสไร้พุง แต่ที่เพิ่มขึ้นอีกในช่วงภาคเรียนที่ 2 /2 เนื่องจากมีการย้ายเข้าย้ายออก ยังเป็นเด็กที่ไม่ได้รับการแก้ไข

กราฟเปรียบเทียบสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

จัดกิจกรรมที่ช่วยแกไขภาวะอ้วนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558- ปีการศึกษา 2559 ภาวะผอมและค่อนข้างผอมลดลง เนื่องจากไ้ด้ทำกิจกรรมอาหารเช้าแก้มใส แต่ที่เพิ่มขึ้นอีกในช่วงภาคเรียนที่ 2 /2 เนื่องจากมีการย้ายเข้าย้ายออก ยังเป็นเด็กที่ไม่ได้รับการแก้ไข

กราฟเปรียบเทียบสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

จัดกิจกรรมอาหารเช้าแก้มใสอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558- ปีการศึกษา 2559 ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลงเพราะได้ดื่มนมเพียงพอกับความต้องการแต่ที่เพิ่มขึ้นอีกในช่วงภาคเรียนที่ 2 /2 เนื่องจากมีการย้ายเข้าย้ายออก ยังเป็นเด็กที่ไม่ได้รับการแก้ไข

กราฟเปรียบเทียบสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย และส่งเสริมการดื่มนม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีกิจกรรม แก้มใสไร้พุง

ภาพกิจกรรม

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการมารับนอกเวลาหลังเลิกเรียน

ภาพกิจกรรม

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. โรงพยาบาลคุระบุรี ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน 2.สำนักงานเกษตรอำเภอคุระบุรี ให้ความร่วมมือและสนับสนุน พันธ์ุผักและให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด3.สำนักงานเทศบาลตำบลคุระบุรีสนับสนุนเรื่องการกำจัดขยะที่ถูกวิธี4.ประมงอำเภอคุระบุรีให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา5.ปศุสัตว์อำเภอคุระบุรี ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh