ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านข่อย

รหัสโครงการ ศรร.1312-067 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.21 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การจัดการระบบน้ำเพื่อความยั่งยืนและประหยัดแรงงาน

1.แบ่งพื้นที่การเกษตร 2.จัดสรรน้ำเหมาะสมกับพื้นที่
-พื้นที่ไม้ยืนต้นใช้ระบบน้ำหยด -พื้นที่พืชผักระยะสั้นใช้สปริงเกอร์ โดยนำน้ำมาจากลำสะแทด ลำน้ำหลังโรงเรียนเพื่อให้การเกษตรมีระบบที่ยั่งยืนเป็นมาตรฐาน สะดวกแก่การบริหารจัดการเกษตรในโรงเรียน

ขยายพื้นที่ให้สามารถใช้น้ำได้ทั่วถึงภายในบริเวณโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรมหมุนลดพุงลดอ้วน

นักเรียนที่มีภาวะอ้วนหรือเริ่มอ้วนมีกิจกรรมคือ 1.ควบคุมอาหารนักเรียนโดยแม่ครัว ลดแป้ง 2.กิจกรรมเข้าจังหวะเพื่อลดพุง เช่น ฮุลาฮุปเข้าจังหวะ เต้นแอโรบิค เป็นต้น

เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายให้หลากหลาย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

เรือสร้างสุขนิสัยสุขภาพอนามัย

เรือสำหรับทำกิจกรรมเกี่ยวกับการล้างมือ แปรงฟันโดยเรือแต่ละลำจะมีป้ายบอกกิจกรรมและองค์ความรู้ เช่น การแปรงฟันที่ถูกวิธี การล้างมือที่ถูกวิธี เป็นต้น

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ศิลปะเพื่อการเรียนรู้

-ให้นักเรียนเข้าใจเรื่องคุณค่าทางอาหาร โภชนาการ ผลกระทบจากการทานขนม น้ำอัดลม สามารถถ่ายทอดออกมาผ่านทางงานศิลปะ

จัดเก็บเป็นสื่อทางโภชนาการที่เป็นผลงานของนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

คลังข้อมูลออนไลน์

1.จัดเก็บข้อมูลนักเรียนผ่านทางเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง สื่อการเรียนการสอนเกี่ยวกับโภชนาการทางอาหาร โดยข้อมูลไม่ซ้ำซ้อน ใช้งานร่วมกัน

เป็นคลังสื่อข้อมูลที่สามารถเผยแพร่ได้

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาน
2.องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านจาน 3.ผู้ปกครองนักเรียน 4.ประมงและเกษตรอำเภอพุทไธสง ภาคีเครือข่ายได้ช่วยอำนวยความสะดวกให้ศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านข่อยให้ประสบความสำเร็จในแต่ละกิจกรรมทั้งกำลังคน กำลังทรัพย์ ระดมสติปัญญาให้เกิดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมขึ้น

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

1.สภาพแวดล้อมโรงเรียนมีด้านหลังที่ติดลำน้ำสะแทดทำให้แหล่งน้ำสมบูรณ์สภาพดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก 2.ชุมชนเข้มแข็ง 3.มีบริเวณโรงเรียนที่สะอาด ร่มรื่น ไม่มีสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้น

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

1.มีการจัดประชุมวางแผนแบ่งผู้รับผิดชอบงานแต่ละงาน 2.กำหนดนโยบายส่งเสริมสุขภาพที่ชัดเจน เป็นประกาศของโรงเรียน 3.ประเมินกิจกรรมตามแผนทุกระยะ 4.สรุปผลการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม 5.มีการประสานภาคีเครือข่ายเพื่อขอความร่วมมือ เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น หน่วยงานด้านการเกษตรประมงจังหวัดเกษตรจังหวัด จากกระบวนการดังกล่าวทำให้เกิดความเข้าใจและเกิดความร่วมมือในการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครู นักเรียน และแม่ครัวประชุมวางแผนการจัดอาหารกลางวันแต่ละวันแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรม ประเมินผลพร้อมสรุปงาน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

1.โรงเรียนสร้างความเข้าใจ ชี้แจงวัดถุประสงค์ของการทำโครงการให้ผู้ปกครอง นักเรียน ได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพและโภชนาการ 2.ผู้ปกครองให้ความร่วมมือ โดยร่วมกันจัดกิจกรรมทำบุญคูณลานที่โรงเรียนโดยมอบข้าวเปลือกให้โรงเรียนใช้จัดเป็นวัตถุดิบในการทำอาหารกลางวัน 3.หน่วยงานภาครัฐส่งเสริมกิจกรรมโดยการระดมทุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

1.ให้นักเรียนปลูกผักสวนครัวตามชั้นเรียนโดยแต่ละชั้นไม่ซ้ำกัน เช่น ป.1 ปลูกผักบุ้ง ป.2 ปลูกผักคะน้า ป.3 ปลูกพริก ฯลฯ 2.ส่งเสริมให้ชุมชนปลูกผัก ผลไม้เพื่อนำเข้าโครงการอาหารกลางวัน

แปลงผักสวนครัว เอกสารรายละเอียดผักรายวัน

การจัดโซนการเกษตรเพิ่มพื้นที่ผลผลิตให้เพียงพอต่อโครงการอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

1.มีการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ จำนวน 100 ตัว 2.มีการเลี้ยงหมูป่า จำนวน 5 ตัว การจัดการดูแลหมู่ป่า จัดเวรให้นักเรียนให้อาหาร (เศษอาหาร)

รูปภาพ/รายงานการเก็บไข่ไก่รายวัน

ขยายการเลี้ยงหมูและไก่พันธุ์ไข่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

จัดพื้นที่การเลี้ยงปลาในกระชัง และปลากินพืชในบ่ดิน จัดเวรนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ให้อาหารปลา

ภาพถ่าย/บันทึกการให้อาหารปลาของนักเรียนแต่ละวัน

เพิ่มพันธุ์ปลาให้เพียงพอต่อโครงการอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

นักเรียนได้รับผักผลไม้มากกว่า 30 กรัมต่อวันทุกคน ทานผลไม้สัปดาห์ละ 3 วัน (ใน 5 วันทำการ) สร้างความรู้ความเข้าใจให้นักเรียนเรื่องประโยชน์ของผักผลไม้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการกินผัก/ผลไม้ตามที่จัดให้

ภาพถ่าย/โปรแกรมภาวะโภชนาการนักเรียน รายการอาหาร

ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องประโยชน์จากผัก/ผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนได้รับผักผลไม้มากกว่า 60 กรัมต่อวันทุกคน ทานผลไม้สัปดาห์ละ 3 วัน (ใน 5 วันทำการ) สร้างความรู้ความเข้าใจให้นักเรียนเรื่องประโยชน์ของผักผลไม้ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้ตระหนักถึงประโยชน์ของการกินผัก/ผลไม้ตามที่จัดให้

ภาพถ่าย/โปรแกรมภาวะโภชนาการนักเรียน รายการอาหาร

ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องประโยชน์จากผัก/ผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีเฉพาะผักปลอดสารพิษที่ชุมชนส่งให้โรงเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/2
เตี้ย 4.59 4.59% 4.63 4.63% 3.67 3.67% 3.67 3.67% 6.06 6.06% 6.06 6.06%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.09 10.09% 20.37 20.37% 21.10 21.10% 9.17 9.17% 12.12 12.12% 12.12 12.12%
ผอม 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.02 2.02% 1.01 1.01%
ผอม+ค่อนข้างผอม 10.09 10.09% 5.50 5.50% 7.34 7.34% 6.42 6.42% 8.08 8.08% 8.08 8.08%
อ้วน 2.75 2.75% 1.83 1.83% 2.75 2.75% 1.83 1.83% 2.02 2.02% 4.04 4.04%
เริ่มอ้วน+อ้วน 16.51% 16.51% 12.84% 12.84% 11.01% 11.01% 11.93% 11.93% 9.09% 9.09% 16.16% 16.16%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

จัดกิจกรรมและจัดอาหารให้เหมาะสมกับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ

ภาพกิจกรรม/รายชื่อนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

-มีหนังสือแจ้งประชุมชี้แจงผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ -จัดกิจกรรมพิเศษให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงเฝ้าระวังทุกเดือน

ภาพถ่ายการประชุมชี้แจงผู้ปกครอง/รายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

แนะนำและชี้แจงแนวทางการปฏิบัติให้ผู้ปกครองสำหรับนักเรียนที่มีปัญหา เช่น การดูแลเรื่องอาหารเน้นอาหารที่มีประโยชน์

ภาพถ่ายการประชุมชี้แจงผู้ปกครอง/รายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาน
2.องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านจาน 3.ผู้ปกครองนักเรียน 4.ประมงและเกษตรอำเภอพุทไธสง ภาคีเครือข่ายได้ช่วยอำนวยความสะดวกให้ศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านข่อยให้ประสบความสำเร็จในแต่ละกิจกรรมทั้งกำลังคน กำลังทรัพย์ ระดมสติปัญญาให้เกิดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมขึ้น

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh