ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนห้วยซวกคกเลาใต้

รหัสโครงการ ศรร.1312-055 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.9 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

บ่อเลี้ยงกบสมุนไพร

โรงเรียนมีการเลี้ยงกบ จำนวน 3 บ่อ คือ บ่อซีเมนต์ จำนวน 1 บ่อ และบ่อดิน จำนวน 2 บ่อ ซึ่งรูปแบบการเลี้ยงบ่อดินมีวิธีการเลี้ยงในรูปแบบใหม่ คือ มีการปลูกพืชสมุนไพร เช่น ตะใคร้ ตะใคร้หอม ในบ่อเลี้ยงซึ่งช่วยลดกลิ่นคาวของบ่อเลี้ยงที่เกิดจากการหมักหมมของเศษอาหาร ตลอดจนการเลี้ยงที่เลียนแบบธรรมชาติ เป็นการเลี้ยงแบบปล่อย จากการนำกบมาประกอบอาหารมื้อกลางวันให้กับเด็กนักเรียน เพื่อเปรียบเทียบความแต่งต่างระหว่างกบที่เลี้ยงในบ่อซีเมนต์และบ่อดินที่มีการปลูกสมุนไพร มีความอร่อยและไม่มีกลิ่นคาว

เพิ่มปริมาณบ่อเลี้ยงกบให้มากขึ้น เนื่องจากกำไรดี เด็กได้ทานอาหารประเภทโปรตีนที่มีประโยชน์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

ไข่แลกผัก

โรงเรียนมีการขยายพันธุ์ผัก เช่น คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง ไปสู่ชุมชนโดยให้เด็กนักเรียนนำไปปลูกที่บ้าน โดยให้มีการปลูกในรูปแบบอินทรีย์โดยจะเวียนเป็นรอบการปลูกโดยเริ่มทดลองจากชั้นมัธยมจำนวน 42 คน นำผักไปปลูกที่บ้านแลกกับไข่ที่โรงเรียนโดยผัก 1 กิโลกรัมต่อไข่ 2 ฟอง และเมื่อได้ผักแล้วจะนำไปผ่านสหกรณ์โรงเรียนเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวัน โดยสหกรณ์จะรับซื้อผักในราคากิโลกรัมที่ถูกว่าท้องตลาด และมีความปลอดภัย

เพิ่มปริมาณไก่ไข่ที่เลี้ยงให้มีมากขึ้น เพื่อนักเรียนจะได้มีไข่คุณภาพและได้กินผักปลอดสารพิษ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

40 เมนูทองจากแม่ให้ลูกรัก

โรงเรียนมีการจัดเรื่องของการรบริการอาหารของนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thaischool luch และมีกลุ่มแม่บ้านอาสาหมุนเวียนมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

มาร์ชิ่งความดีเพื่อสุขภาพ

การนำกิจกรรมมาร์ชิ่งเข้ามาใช้ในการออกกำลังกายทำให้เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการมีร่างกายแข็งแรงสสมบูรณ์ โดยมีการเดินมาร์ชิ่งตามจังหวะเพลงทุกเช้าก่อนเข้าห้องเรียน เป็นการฝึกให้เด็กมีสมาธิ ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 15 นาที

นำกิจกรรมนี้ไปขยายไปสู่โรงเรียนในเครือข่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

คู่หูฟันดี

กิจกรรมนี้เกิดขึ็นได้เพราะว่า ภายในโรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนดูแลสุขภาพฟัน โดยส่งเสริมให้เด็กมีการแปรงฟันหลังอาหาร ซึ่งมีการจับคู่การตรวจฟันระหว่างพี่ดูแลน้อง จนทำให้ได้ีัรับรางวัล "คู่หูฟันดี" จากสำนักงานสาธารณสุข

มีการขยายความรู้ให้กับโรงเรียนในเครือข่ายนำความรู้ไปใช้กับเด็กนักเรียน เพือ่ให้มีสุขภาพฟันที่ดี ฟันขาว ยิ้มสวย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรม 5 ห้องชีวิต

กิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น เป็นกิจกรรมในตอนเช้า ที่เรียกว่า "กิจกรรม โซนทำความสะอาด" โดยมีการแบ่งโซนออกเป็น 5 โซนมีครูและนักเรียนประจำโซนรับผิดชอบ การกวาดถนน ขัดห้องน้ำ เก็บใบไม้ แยกขยะ รดน้ำต้นไม้ กวาดถูอาคาร และซึ่งแต่ละโซนก็จะมีการหมุนเวียนกันทุกวัน เพื่อให้นักเรียนได้รับผิดชอบทุกๆโซน ทั่วโรงเรียน

สนับสนุนให้มีอุปกรณ์อย่างเพียงพอ เพื่อให้เด็กนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการทำความสะอาดกันทุกคน และจะได้เป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยให้กับเด็ก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

เท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้

โรงเรียนมีนโยบายให้เด็กทุกคนได้รับประทานผักและผลไม้ โดยเริ่มกิจกรรมโดยการสังเกตพฤติกรรมการกินผักของนักเรียนปรากฎว่านักเรียนบางส่วนไม่ยอมกินผัก เมื่อเราได้แล้วเราเริ่มจากครูประจำชั้นครูเวรประจำวันกำกับให้เด็กแต่ละคนกินผักโดยเริ่มงานกินที่ละนิดก่อนแล้วค่อยๆเริ่มปริมาณของผักละผลไม้ให้เด็กกิน ปัจจุบันเด็กนักเรียนในโรงเรียนกินผักทุกคน ตั้งแต่อนุบาล-มัธยมศึกษาปีที่ 3

ส่งเสริมให้เด็กได้กินผักและผลไม้ขยายต่อชุมชนต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียน

เป็นศูนย์การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆที่มีในโรงเรียนได้แก่ -โรงเพาะเห็ด -โรงเลี้ยงไก่ไข่ -บ่อเลี้ยงกบ -สวนผักกลางมุ้ง -บ่อจิ๊งหรีด -แปลงพืชสมุทไพร -ธนาคารโรงเรียน -โรงคัดแยกขยะ ซึ่งทำให้เด็กได้เกิดการจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

นักเรียนสามารถนำสื่งที่เรียนรู้จากศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียนนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และสร้างเป็นอาชีพได้โดยมีผู้ปกครองให้การสนับสนุน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  • การเกษตรในโรงเรียน ได้แก่ ประมงอำเภอเชียงคานปศุสัตว์อำเภอเชียงคาน
    • สหกรณ์นักเรียนได้แก่ ตรวจบัญชีและสหกรณ์จังหวัดเลยธนาคารการเกษตรและสหกรณ์ อำเภอเชียงคาน
    • การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านอาหารกลางวัน
    • การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคกเลาใต้
    • การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน หน่วยทันตสุขภาพ โรงพยาบาลเชียงคาน
    • การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
    • การจัดบริการสุขภาพนักเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคกเลาใต้

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีนโยบาย ไม่ขาย น้ำอัดลม ของหวาน และขนมกรุบกรอบ ทำให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพฟันดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

วิสัยทัศน์ของผู้บริหาร คณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนมีการประชุมร่วมกันทุกครั้ง

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

โรงเรียนมีนโยบาย และผู้ยริหารให้ความสำคัญในการให้ครู แม่ครัว และบุคคลที่เกี่ยวข้องได้เรียนรู้ปรแกรมThai School Lunch ทำให้ได้่เมนูอาหารและอาหารที่ถูกหลักอนามัย มีการหมุนเวียนของกลุ่มแม่บ้านจิตอาสาเข้ามาทำอาหารให้กับบุตรหลานของตนเองทำให้เกิดความผูกพันระหว่างผู้ปกครองและนักเรียน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียน มีความพร้อมในการบริหารที่ต่อเนื่องโดยมีการประชุมติดตามและขยายผลต่อชุมชน ทำให้โรงเรียนมีส่วนร่วมในชุมชนมากขึ้นและมีความรู้ในด้านต่างๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ผักที่ไม่เพียงพอต่อโครงการอาหารกลางวันทางโรงเรียนจะนำมาจาก ชุมชนเครือข่าย2 ชุมชน ได้แก่ชุนชนห้วยซวก และชุมชนคกเล้าใต้ซึ่งมีวิธีกาเลือกซื้อมาจากมาจากพ่อค้าแม่ค้าที่เชื่อถือได้ ว่า สะอาด ปลอดภัย

ชุมชนที่เชื่อถือได้ ตลาดในชุมชน

ขยายพื้นที่ปลูกผักและผลไม้ในโรงเรียน และขยายเครือข่ายผู้ปกครองในการปลูก กล้วย ฟักทอง มะละกอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ได้ไข่ไก่ประมาณวันละ 60 ฟอง สามารถนำผลผลิตที่ได้ไปทำเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน และมีการขายให้แกชุมชนผ่านร้านค้าสหกรณ์โรงเรียน

โรงเลี้ยงไก่ไข่ภายในโรงเรียน และสหกรณ์โรงเรียน

เพิ่มปริมานในการเลี้ยงไก่ไข่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนมีการเลี้ยงกบ จำนวน 3 บ่อ เพื่อนำผลผลิตมาใช้ในโครงการอาหารกลางวัน ใน 1 สัปดาห์เด็กได้รับประทานเมนูจากกบ จำนวน 1 วัน/สัปดาห์ และผลผลิตที่เหลือมีการจำหน่ายผ่านร้านค้าสหกรณ์ให้กับชุมชน

บ่อเลี้ยงกบสหกรณ์ของโรงเรียน

เลี้ยงปลาดุกในบ่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนมีบริการอาหารเสริมนมในตอนเช้าให้กับเด็กที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามา ตามข้อตกลงของ MOU ระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครองโดยให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียน

MOU ของโรงเรียน

ประชุมผู้ปกครอง ทำ MOU ของการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียนก่อนมาโรงเรียน และมีการออกเยี่ยมติดตามเครือข่ายนักเรียน ในทุก 2 สัปดาห์และมีบริการอาหารเสริมประเภทนมให้แก่เด็กในทุกเช้า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

แม่ครัวมีความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน ทำให้การบริการอาหารกลางวันมีคุณภาพ ทำให้เด็กอนุบาล 3-5 ปี ได้รับผักและผลผลไม้ตามเกณฑ์ที่กำหนดและครูประจำชั้นมีการติดตามในการรับประทานผักของเด็กในแต่ละวัน เพื่อให้เด็กรับประทานอาหารให้หมดก่อนนำภาชนะไปล้าง

แบบบันทึกการรับประทานอาหาร และการสังเกต ของครูประจำชั้น

การให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองในการรับประทานผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

แม่ครัวมีความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมการกำหนดเมนูอาหารกลางวันและสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็ก มีครูประจำชั้นที่คอยกำกับ ติดตาม ในการรับประทานผักของเด็ก เพื่อให้เด็กรับประทานอาหารกลางวันหมดก่อนนำภาชนะไปล้าง

แบบันทึกการรับประทานอาหาร และการกำกับติดตามของครูประจำชั้น

การให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองในการรับประทานผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

แม่ครัวมีความรู้เกี่ยวกับอาหารและสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการของเด็ก และครูประจำชั้นมีการกำกับ ติดตาม ในการรับประทานอาหารกลางวันหมดก่อนนำภาชนะไปล้าง

แบบบันทึกการรับประทานอาหาร และกำกับติดตามของครูประจำชั้น

การให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองในการรับประทานอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ส่งเสริม อบรมให้ความรู้แก่ชุมชนเครือข่าย บริการให้คำปรึกษาแก่ชุมชนเครือข่าย ในการปลูกผักที่ปลอดสารพิษและถูกวิธีมีการติดตามลงเยี่ยมแปลงของชุมชนเครือข่ายเดือนละ 2 ครั้ง

การจัดอบรม ภาพถ่าย

การจัดอบรมเพิ่มความรู้ และขยายเครือข่ายความรู้ในตำบล ได้แก่ โรงเรียนบ้านผาแบ่น โรงเรียนบ้านอุมง โรงเรียนบ้านบุฮมโรงเรียนบ้านคกเลา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดสำรับอาหารผ่านโปรแกรม Thai School Lunch รายเดือน และนำมาใช้ในการจัดซื้อวัถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน

โปรแกรม Thai School Lunch และครูผู้รับผิดชอบ ครูสุภัคษรสุวรรณธาดา

ขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่ายในการใช้โปรแกรมThai School Lunch

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามการ ช่างน้ำหนัก วัดส่วนสูง ในช่วงต้นเดือนและปลายเดือน มีแบบประเมิน แบบสังเกต มีการส่งเสริมเด็กเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน เมื่อพบเด็กที่มีปัญหาด้านสุขภาวะ เราจะมีการส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกายโดยเอามาร์ชิ่งความดีเข้ามาให้การฝึกสมาธิ เด็กที่มีปัญหาที่เริ่มผอมเราจะมีการส่งเสริมโดยการกินวิตามินเสริม และดื่มนมในละ2ครั้ง

แบบประเมินแบบสังเกตการ

มีการออกเยียมบ้านเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อติดตามประเมินผล

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/2
เตี้ย 11.05 11.05% 11.05 11.05% 11.05 11.05% 5.65 5.65% 7.02 7.02% 7.02 7.02% 4.76 4.76% 5.33 5.33% 3.85 3.85% 7.10 7.10% 7.10 7.10% 3.66 3.66% 5.07 5.07% 5.07 5.07%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 17.44 17.44% 17.44 17.44% 17.44 17.44% 12.43 12.43% 16.37 16.37% 16.37 16.37% 11.90 11.90% 12.43 12.43% 9.62 9.62% 16.77 16.77% 17.42 17.42% 8.54 8.54% 15.22 15.22% 10.87 10.87%
ผอม 4.65 4.65% 4.65 4.65% 4.65 4.65% 5.06 5.06% 5.85 5.85% 3.59 3.59% 1.78 1.78% 1.78 1.78% 3.90 3.90% 4.52 4.52% 5.16 5.16% 7.32 7.32% 5.80 5.80% 2.90 2.90%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.30 9.30% 9.30 9.30% 9.30 9.30% 11.24 11.24% 14.04 14.04% 5.99 5.99% 7.10 7.10% 7.10 7.10% 7.79 7.79% 9.03 9.03% 12.26 12.26% 13.41 13.41% 13.04 13.04% 8.70 8.70%
อ้วน 2.91 2.91% 2.91 2.91% 2.91 2.91% 3.37 3.37% 7.60 7.60% 2.99 2.99% 2.37 2.37% 2.37 2.37% 3.90 3.90% 5.81 5.81% 4.52 4.52% 4.88 4.88% 4.35 4.35% 5.07 5.07%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.72% 8.72% 8.72% 8.72% 8.72% 8.72% 7.87% 7.87% 11.11% 11.11% 7.78% 7.78% 8.28% 8.28% 8.28% 8.28% 9.09% 9.09% 13.55% 13.55% 11.61% 11.61% 10.37% 10.37% 12.32% 12.32% 12.32% 12.32%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ส่งเสริมการออกกำลังกายเด็กไทยไร้พุง(ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บุฮม ประจำปีงบประมาณ2559 ขั้นดำเนินการ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการการออกกำลังกายเล่นกีฬา - จัดประชุมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.คกเลาใต้ - จัดกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยการเตะตกกร้อหลังเลิกเรียนวันละ ๓๐ นาที
- จัดระบบข้อมูลพัฒนาการนักเรียน - ประเมินภาวะโภชนาการ(น้ำหนัก,ส่วนสูง) - ติดตามเด็กเริ่มอ้วน (บันทึก) กินอาหารแต่ละมื้อให้น้อยลง ค่อยๆลดจำกัดอาหารแป้ง หวาน และไขมัน เพิ่ม ผักและผลไม้ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหวใช้พลังงาน ออกกำลังกายให้ได้อย่างน้อยวันละ 30 นาทีไม่ซื้อยาลดความอ้วนกินเองอาจเป็นสาเหตุให้เสียชีวิต ขอความร่วมมือจากคนในครอบครัวในเรื่องอาหารที่บ้าน เช่น ไม่ซื้อขนมเข้าบ้านปลูกผักรับประทานเอง

รูปภาพ รายงานโครงการ

-ส่งทีมตะกร้อไปแข่งขันจัดแข่งขันตะกร้อ มีทีมหลายช่วงอายุ รวมถึงกีฬาชนิดอื่น -ทำโครงการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  • จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ -ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองดื่มนมวันละ 2 กล่อง
  • จัดประชุมให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.คกเลาใต้
    • จัดกิจกรรมการออกกำลังกายหลังเลิกเรียนวันละ ๓๐ นาที
  • จัดระบบข้อมูลพัฒนาการนักเรียนค่อนข้างผอมและผอม
    • ประเมินภาวะค่อนข้างผอมและผอม

ภาพ รายชื่อนักเรียนที่ค่อนข้างผอมและผอม

ครูดูแลนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันเป็นพิเศษ เยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ให้กระโดดเชือก จัดอาหาร ครูให้ดื่มนมวันละ 2 กล่อง ส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และไขมัน สำหรับหมวดหมู่ไขมัน ให้รับประทานตามพลังงานในแต่ละวัน ไม่ควรให้รับประทานมากจนเกินไป เพราะอาจเกิดภาวะโรคอ้วนตามมาได้

ภาพประชุมผู้ปกครอง

ครูดูแลนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันเป็นพิเศษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และไขมัน ไม่ส่งเสริมให้กินอาหารขยะ รับประทานผักผลไม้ตั้งแต่เด็กๆ ดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว เป็นนมจืดออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 20-30 นาที
  2. แนะนำผู้ปกครองควรเข้านอนเร็วๆ ไม่ควรเกิน 22.00 น. เพราะฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต ขณะนอนหลับสนิทนอนอย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง
  3. หุงข้าวโดยไม่เช็ดน้ำเพื่อให้แร่ธาตุและวิตามินที่ละลายน้ำยังอยู่ในข้าวสวย ควรกินข้าวกล้องซึ่งมีวิตามินและแร่ธาตุมากกว่าข้าวขัดขาวเพื่อลดปัญหาขาดวิตามินบีหนึ่งและบีสอง
  4. ใช้เกลือและน้ำปลาที่เสริมไอโอดีนเพื่อช่วยลดการเป็นโรคคอพอก
  5. ให้นักเรียนกินนมในโรงเรียนโดยไม่ต้องเสียเงินเพื่อแก้ปัญหาขาดโปรตีนและส่งเสริมให้โรงเรียนมีโครงการอาหารกลางวัน
  6. โรงเรียนและที่บ้านปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์ในโรงเรียนที่อยู่ห่างไกล เพื่อให้นักเรียนได้สารอาหารเพิ่ม โดยเฉพาะสารอาหาร ที่ให้พลังงาน และช่วยการเจริญเติบโต
  7. ให้ลดอาหารหวาน อาหารมันจัด และออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาไขมันในเลือดสูง และโรคอ้วน
  8. ให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ประชาชน เช่น จัดทำแผ่นพับ เอกสาร หนังสือ ข่าวสาร ตามสื่อต่างๆ

ภาวะทุพโภชนาการ

ส่งเสริมให้นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชาการลงมือปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ในศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสต่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การจัดบริการอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย ชุมชนมีส่วนร่วมในการอาสามา ประกอบอาหารจำนวน 18 กลุ่ม มีเมนูอาหาร วันละ 2 เมนู - มาร่วมประชุมรับความรู้ใหม่ - ดูและสุขภาพของนักเรียนที่บ้าน - ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ในครัวเรือนตามความเหมาะสม

ภาพ รายชื่อกลุ่มแม่บ้าน เมนูอาหาร

โรงเรียนรับซื้อผักและสัตว์เลี้ยงที่ชุมชนผลิต นำมาประกอบอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-นักเรียนมีความสุขในการมาเรียน สุขภาพกายแข่งแรง สุขภาพจิตดี การเรียนมีผลสัมฤทธิ์แสงขึ้น -ชุมชนมีความพึงพอใจในการบริหารจัดการศึกษา

แบบประเมินความพึงพอใจ การสัมภาษณ์ การสอบถาม

ดำเนินการโครงการเด็กไทยแก้มใสต่อไป โดยเฉพาะอาหารกลางวันที่มีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม จะยั่งยืนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  • การเกษตรในโรงเรียน ได้แก่ ประมงอำเภอเชียงคานปศุสัตว์อำเภอเชียงคาน
    • สหกรณ์นักเรียนได้แก่ ตรวจบัญชีและสหกรณ์จังหวัดเลยธนาคารการเกษตรและสหกรณ์ อำเภอเชียงคาน
    • การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านอาหารกลางวัน
    • การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคกเลาใต้
    • การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน หน่วยทันตสุขภาพ โรงพยาบาลเชียงคาน
    • การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
    • การจัดบริการสุขภาพนักเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคกเลาใต้

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh