ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนพัฒนาสามัคคี

รหัสโครงการ ศรร.1312-087 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.41 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การทำการเกษตรอย่างหลากหลายเพื่อให้ได้ผลผลิตเพียงพอต่อการบริโภคในโครงการอาหารกลางวัน และมีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย การหักต้นทุนในการผลิต ทุนสำรอง การหักเปอร์เซ็นต์เข้าสหกรณ์ อย่างเป็นระบบ

โรงเรียนพัฒนาสามัคคีมีการทำการเกษตรอย่างหลากหลาย เช่น การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่ การเลี้ยงปลากดุก การเลี้ยงหมูหลุม การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกผักปลอดสาร การปลูกพืชสมุนไพร ปลูกมะนาว แก้วมังกรและการทำนาข้าว ซึ่งผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมต่างๆที่กล่าวมา จะถูกจำหน่ายให้กับทางสหกรณ์โรงเรียน โดยกิจกรรมทุกกิจกรรมจะมีบัญชีการจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรควบคุม โดยมีการแบ่งหัก ดังนี้ 1.หักสกหรณ์ 10 %
2.ต้นทุนสำรอง 80 % 3.ผู้ผลิต 10 % ( *หมายเหตุ บัญชีบางกิจกรรมจะมีการหักไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับลักษณะการทำงานและความเหมาะสมของกิจกรรมนั้นๆ) สิ้นค้าทุกชนิดจะถูกขายให้กับโครงการอาหารกลางวันเป็นอันดับแรก เหลือจากการจำหน่ายจึงขายสู่ชุมชนในลำดับต่อไป

๑. พัฒนาต่อยอดในทุกกิจกรรมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน ศึกษาและหาข้อมูลในการดำเนินกิจกรรมที่ยังพบเจอปัญหาหรือยังไม่บรรลุผลเท่าที่ควรเพื่อการดำเนินงานประสบความสำเร็จมากขึ้น โดยคณะครูผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ต้อง AAR หรือ PLC เพื่อหาแนวทางพัฒนาร่วมกัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์นักเรียนโรงเรียนพัฒนาสมัคคี ดำเนินกิจกรรมโดยนักเรียน ซึ่งครูมีบทบาทหหน้าที่ให้คำปรึกษา และคอยให้คำแนะนำในการดำเนินงาน ผลผลิตทางการเกษตรทุกชนิด สหกรณ์นักเรียนนจะรับซื้อ และเป็นศูนย์กลางในการจำหน่ายและกระจายสินค้าสู่โครงการอาหารกลางวันและสู่ชุมชน โดยมีบัญชีแสดงรายละเอียดในทุกเรื่องอย่างชัดเจนและตรวจสอบได้ กำไรจากการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์จะถูกจัดสรรเพื่อปันผลให้กับนักเรียนทุกสิ้นปีการศึกษา ซึ่งในทุกๆปี สหกรณ์นักเรียนจะมีกำไรจากการดำเนินกิจกรรมตลอดทุกปี

จัดตั้งกลุ่มแกนนำดำเนินงานสหกรณ์อย่างชัดเจน อบรมให้ความรู้เรื่องการดำเนินงานสหกรณ์ให้กับนักเรียนแกนนำ และนักเรียนคนที่สนใจอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดบริการอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School lunch และจัดดูแลนักเรียนกลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษ เช่น อ้วน ผอม

โรงเรียนพัฒนาสามัคคีมีการจัดบริการอาหารกลางวันให้กับนักเรียน โดยใช้ โปรแกรม Thai School lunch เมนูอาหารจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันโดยส่วนใหญ่เราจะเน้นอาหารที่เรามีวัตถุดิบอยู่แล้ว เช่นผักในโรงเรียนที่่เราปลูกช่วงนี้มีผักอะไร เมนูอาหารในวันนั้นก็จะเลือกเมนูที่ต้องใช้ผักที่เราปลูก หรือในชุมชนของเรามีสินค้าเกษตรอะไร เราก็เลือกเอาวัตถุดิบนั้นๆมาใ้ช้ประกอบอาหารซึ่งชุมชนของเราจะปลอดภัยจากกการใช้สารเคมี และเชื่อถือได้ และเป็นการกระจายรายได้สู่ชุมชนอีกทางหนึ่ง
ส่วนนักเรียนที่มีปัญหา อ้วน ผอม เตี้ย เราก็จะจัดอาหารเป็นพิเศษให้กับเด็กกลุ่มนี้โดยเฉพาะ

จัดทำ MOU ร่วมกันระหว่างโรงเรียนและชุมชน เรื่องการรับซื้อผักปลอดสารจากชุมชนเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวันเพื่อนักเรียน และเกิดผลดีทั้งสองฝ่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการ

มีการจัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยมีการวัดส่วนสูงและชั่งน้ำหนักนักเรียนทุกเดือน ในการวัดน้ำหนักและชั่งส่วนสูงในแต่ละครั้งจะใช้ครูอนามัยเพียงคนเดียวเป็นคนอ่านค่าเและช่วงเวลาที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสงก็ใช้ช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดความคลาดเคลื่อนของการอ่านค่านั้นเองข้อมูลที่เราได้ นำไปจัดพัฒนาและแก้ไขตต่อไป จากการดำเนินงานที่ผ่านมาจึงทำให้เราสามารถดำเนินงานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

มีการประชุมและวางแผนการดำเนินงานในส่วนของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเพื่อให้การดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้องกันมากที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมเสียงตามสายและเพลง

จัดกิจกรรมเสียงตามสายและพลงเกี่ยวกับการเสริมสุขภาพอนามัยและพัฒนาสุขนิสัยต่างๆ ในช่วงเช้าและช่วงพักเที่ยงของทุกวันเช่นในช่วงก่อนทานเข้าจะเปอดเพลงเสียงตามสาย ขั้นตอนการล้างมือ ช่วงทานข้าวเปอดเพลงมารยาทการทานอาหาร ช่วงก่อนเข้าเรียน เปิดเพลงขั้นตอนการแปรงฟัน เป็นต้น นอกจากนี้เรายังมีกลุ่ม แกนนำ อย.น้อย ให้ความรู้เรื่องต่างๆ ผ่านกิจกรรมเสียงตามสาย และบอร์ดประชาสัมพันธ์อยู่เป็นประจำ

จัดตารางการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านเสียงตามสายอย่างชัดเจน ระบุ เนื้อหา และความรู้ที่จะนำเสนอในแต่ละครั้งเพื่อให้ความรู้ที่ได้เกิดความหลากหลายและไม่ซ้ำซ้อนกัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมทำความสะอาดก่อนเข้าแถวในทุกเช้า

พื้นที่ทุกส่วนในโรงเรียนจะถูกแบ่งให้มีนักเรียนรับผิดชอบทำความสะอาดอย่างชัดเจน มีครูผู้ดูแลเขตรับผิดชอบลงพื้นที่ช่วยนักเรียนและตรวจสอบความเเรียบร้อบและความปลอดภัยในทุกวัน บริเวณเขตพื้นที่ในโรงเรียนจึงสะอาด และปลอดภัยต่อการจัดการเรียนการสอน

จัดตั้งครูผู้ตวรจสอบอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนในทุกวัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

มีห้องพยาบาลที่เหมะสม สะอาด ยา และอุปกรณ์ที่ใช้ปฐมพยาบาลเบื้องต้นครบถ้วน

งานพยาบาลและอนามัยโรงเรียนพัฒนาสามัคคีเป็นงานที่ให้บริการทางด้านสุขภาพของนักเรียนโดยมุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนมีสุขภาพดี สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจอารมณ์ เปิดบริการให้กับนักเรียนด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บไข้เล็กน้อย การอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการให้ภูมิคุ้มกันโรคติดต่อโดยประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุข และ โรงพยาบาลใกล้เคียงกับโรงเรียน

อบรมและจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำ อย.น้อย เพื่อให้มีความรู้มากขึ้นและสามารถปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

มีแผนบูรณาการ เรื่องเกษตร สหกรณ์ โภชนาการอย่างครบถ้วน

มีการจัดทำแผนบูรณาการ สหกรณ์ เกษตร และโภชนาการ ครบทุกชั้นเรียน โโยเน้นจัดกิจกรรมแบบ Active Learning

ปรับุปรุงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ โดยเน้นออกแบกิจกรรม แบบ Active Learning และเพิ่ม PBLปรับลด และเพิ่มเนื้อหาในบางเรื่องให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

หน่วยงานภาคีให้ความร่วมมือ สนับ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมาโดยตลอด

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีขนาดพื้นที่เหมาะสมไม่ใหญ่ หรือเล็กมากจนเกิดไป ทำให้การจัดการด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการทำการเกษตรก็ได้ผลผลิตเป็นที่น่าพอใจ รวมถึงการปรับปรุงดูแลเรื่องอาคารสถานที่ก็ทำได้อย่างดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

มีการประชุมวางแผน หารือ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยใช้วง PLC มาช่วยในเรื่องดังกล่าว

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการประสานงานให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารกันอยู่เป็นประจำ ข้อมูลที่มีจึงสอดคล้องกันและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงเกิดความง่ายในการบริหารจัดการในส่วนต่างๆอย่างครบวงจร

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำเนินกิจกรรมเด็กไทยแก้มใสให้ประสบผลสำเร็จในครั้งนี้ เนื่องจากเป็นผู้มีส่วนร่วมตั้งแต่แรกเริ่ม มีการประชุมวางแผนกันก่อนเริ่มดำเนินกิจกรรมเพื่อให้รับทราบถึงแนวทางการดำเนินกิจกรมตลอดโครงการ ระหว่างดำเนินกิจกรรมก็ได้รับความช่วยเหลือในเรื่องของการให้ความรู้ในเรื่องต่างๆ เช่น ปราชญ์ชาวบ้านให้ความรู้เรื่องต่างๆ ตลอดจนให้การสนับสนุุนสินค้าทางการเกษตรของทางโรงเเรียนที่มีเยอะในบางช่วงจนล้นความต้องการของโครงการอาหารกลางงวัน และร่วมถอดบทเรียนหลังจากดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นเพื่อสังเคราะห์สิงที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ปลูกผักปลอดสาร โดยก่อนปลูกจะมีการสำรวจว่าผักชนิดไหนที่ใช้และประกอบอาหารในเมนู Thai School Lunch มากและใช้เป็นประจำ โรงเรียนก็จะเลือกปลูกผักชนิดหรือประเภทนั้นๆก่อนเพื่อให้ส่งงานโครงการอาหารกลางวันให้พอเพียงมากที่สุด

1.บัญชีการจำหน่ายผัก 2.ภาพถ่าย

ปลูกเพิ่มผลไม้ที่สามารถปลูกง่าย เช่น กล้วย แก้วมังกร เป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่พันธ์ไข่ และหมูหลุม

1.บัญชีขายไข่ 2.ภาพถ่าย

เพิ่มการเลี้ยงไก่เนื้อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

1.บัญชีการขายปลา 2.ภาพถ่าย

เพิ่มการเลี้ยงปลาดุกโดยเพิ่มบ่อเลี้ยงให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School Lunch.

1.เอกสารการจัดอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch. 2.ภาพถ่าย

เพิ่มผลไม้ให้มีความหลากหลายและเหมาะสมมากยิ้่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School Lunch.

1.เอกสารการจัดอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch. 2.ภาพถ่าย

เพิ่มผักในอาหารให้มีความหลากหลายและเหมาะสมมากยิ้่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดอาหารโดยใช้ โปรแกรมThai School Lunch.

1.เอกสารการจัดอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch. 2.ภาพถ่าย

เพิ่มผักในอาหารให้มีความหลากหลายและเหมาสะมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากชุมชนบางชนิดที่ทางโรงเรียนมีผลผลิตไม่เพียงพอหรือที่โรงเรียนไม่สามารถปลูกได้

บัญชีการซื้อสินค้า

จัดทำ MOU ร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการซื้อขายผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารเคมีร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

เมนูอาหารทุกวันใช้โปรแกรม Thai School Lunch

เอกสารการกำหนดเมนูอาหารจาก Thai School lunch

ใช้โปรแกรมใกำหนดอาหารให้เหมะสมกับวัตถุดิบที่มีมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

การลงข้อมูลสารสนเทศภาวะโภชนาการในเวปเด็กไทยแก้มใส

ข้อมูลในเวปเด็กไทยแก้มใส และข้อมูลสารสนเทศภาวะโภชนาการ

เก็บข้อมูลและแปรผลให้เกิดความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/1
เตี้ย 4.44 4.44% 4.40 4.40% 2.83 2.83% 1.08 1.08% 1.54 1.54% 1.55 1.55% 1.04 1.04% 0.50 0.50% 1.43 1.43%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 23.33 23.33% 18.13 18.13% 15.57 15.57% 9.14 9.14% 3.08 3.08% 3.63 3.63% 3.63 3.63% 4.00 4.00% 5.71 5.71%
ผอม 2.19 2.19% 1.62 1.62% 1.61 1.61% 1.61 1.61% 1.54 1.54% 2.59 2.59% 2.59 2.59% 1.50 1.50% 4.29 4.29%
ผอม+ค่อนข้างผอม 15.85 15.85% 15.68 15.68% 17.20 17.20% 15.05 15.05% 9.23 9.23% 8.29 8.29% 8.29 8.29% 10.50 10.50% 10.00 10.00%
อ้วน 7.10 7.10% 5.95 5.95% 8.06 8.06% 9.14 9.14% 4.62 4.62% 1.55 1.55% 1.55 1.55% 1.00 1.00% 4.76 4.76%
เริ่มอ้วน+อ้วน 10.93% 10.93% 11.35% 11.35% 11.83% 11.83% 9.14% 9.14% 4.62% 4.62% 2.07% 2.07% 2.07% 2.07% 3.00% 3.00% 11.90% 11.90%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของนักเรียนโดยเริ่มจากที่โรงเรียนจัดบริการอาหารเสริมผักให้กลุ่มคนที่มีปัญหาเรื่องอ้วนเป็นพิเศษ และออกกำลังกายควบคู่ พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน

ภาพถ่าย
และแบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนา

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการให้ตระหนักถึงภัยร้ายจากปัญหาดังกล่าว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของนักเรียนโดยเริ่มจากที่โรงเรียนจัดบริการอาหารเสริมพวกโปรตีน เนื้อ นม ไข่ ให้กลุ่มคนที่มีปัญหาเรื่องผอมเป็นพิเศษ และออกกำลังกายควบคู่ พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน

ภาพถ่าย และแบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้กับกลุ่มนักเรียนที่มัปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของนักเรียนโดยเริ่มจากที่โรงเรียนจัดบริการอาหารเสริมพวก โปรตีน เนื้อ และพิเศษเพิ่มเสริมนมเป็นวันละ 2 กล่องให้กลุ่มคนที่มีปัญหาเรื่องเตี้ยเป็นพิเศษ และออกกำลังกายโดยการกระโดดเชือกควบคู่ พร้อมทั้งให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติตน

ภาพถ่าย และแบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการจัดเป็นพิเศษ คือ
เด็กอ้วน เสริมอาหาร เน้นผัก ลดแป้ง ไขมัน เด็กผอม เน้น โปรตีน เนื้อนมไข่
เด็กเตี้ย เสริมโปรตีน และเพิ่มนมเป็นวันละ 2 กล่องและควบคู่กับการออกกำลังกาย เช่น คนเตี้ยกระโดดเชือก เป็นต้น

ภาพถ่าย และ แบบบันทึกรายชื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

เสริมกิจกรรมที่เราทำอยู่แล้วให้เกิดความต่อเนื่องและหยั่งยืน โดยมีการวางแผนการทำงาน ประชุม หารือ ถึงปัญหาและแนวทางในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ จัดอบรมครู หรือ ส่งครูเข้าร่วมการบอบรมและพัฒนาตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ดูแลเรื่องการกินอาหารที่บ้านในตอนเช้าก่อนมาโรงเรียน และช่วยควบคุมการเลือกกินอาหารที่ไม่เกิดประโยชน์

แบบสอบถาม
การสังเกตข้าวและกับข้าวที่นักเรียนห่อมากินเพิ่มเติมที่โรงเรียน

จัดประชุมผู้ปกครองเรื่องการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับช่วงวัยของเด็ก อาหารอะไรที่ควรหลีกเลี่ยง เป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

หน่วยงานภาคีให้ความร่วมมือ สนับ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมาโดยตลอด

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh