แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหัวสะพาน
ชุมชน 52 หมู่ที่ 13 ตำบลช่อผกา อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์
รหัสโครงการ ศรร.1312-069 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.23
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ครูเวรจัดซื้ออาหารสด ผัก ผลไม้ และเครื่องปรุงเพื่อใช้ประกอบอาหารให้นักเรียนในแต่ละวันให้ครบ 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาตรฐานอาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณภาพ |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต ( Output )
1. โรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดบริการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้รับความรู้ เทคโนโลยี การจัดบริการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย
2. โรงเรียนได้พัฒนาการจัดอาหารได้มาตรฐานโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนครูเวรจัดซื้ออาหารสด ผัก ผลไม้ และเครื่องปรุงเพื่อใช้ประกอบอาหารให้นักเรียนในแต่ละวันให้ครบ 5 หมู่ ตามหลักโภชนาการการจัดรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch มาตรฐานอาหารกลางวันและอาหารว่างที่มีคุณภาพ กิจกรรมที่ทำจริง1.นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน นักเรียนจัดทำบัญชีรับ-จ่าย เป็นปัจจุบัน 2.ครูเวรมีหน้าที่จัดซื้อผลผลิตทางการเกษตร เพื่อประกอบอาหารกลางวันในแต่ละวันให้กับนักเรียนตามเมนู Thai school luch 3.แม่ครัวประกอบอาหารและอาหารว่าง ให้กับนักเรียนอย่างถูกสุขลักษณะ อาหารสด สะอาด ตามหลักโภชนาการอาหาร 4.นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ
|
553 | 425 |
2. นักเรียนแปรงฟันวันละ 2ครั้ง,ล้างมือ 7 ขั้นตอน,วิ่งวันละ 2 รอบสนาม/เดินวันละ 2,000 ก้าว จัดหาแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน/แก้วน้ำ/น้ำยาล้างมือและสื่อวัสดุในการจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ ฟัน จากบุคลากกรจาก โรงพยาบาลชำนิ และ รพ.สต.หนองตาเปล่ง |
||
วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1.นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน จำนวน 215คน มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ 2. นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน จำนวน 215คน ได้รับการตรวจฟันจากบุคลากรสาธารณสุข ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output)
1.นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน
จำนวน 215คน มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์
2. นักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพาน
จำนวน 215คน ได้รับการตรวจฟันจากบุคลากรสาธารณสุข
ผลลัพธ์ (Outcome)
1.ร้อยละ80ของนักเรียนโรงเรียนบ้านหัวสะพานมี
สุขนิสัยที่พึงประสงค์
2.นักเรียนจำนวน 215 คนปลอดเหา
3.นักเรียนจำนวน 215คนมีฟันพุแท้ลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 1 กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนนักเรียนแปรงฟันวันละ 2ครั้ง,ล้างมือ 7 ขั้นตอน,วิ่งวันละ 2 รอบสนาม/เดินวันละ 2,000 ก้าว จัดหาแปรงสีฟัน/ยาสีฟัน/แก้วน้ำ/น้ำยาล้างมือและสื่อวัสดุในการจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน กิจกรรมที่ทำจริง1.ครูอนามัย/ครูประจำชั้น ประเมินสุขบัญญัติพฤติกรรมการกินของนักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ อ.1 - ม.3 ปีละ 2 ครั้ง 2.ครูจัดหาอุกปรณ์แปรงฟัน เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน แก้วน้ำ ให้ทุกคน 3.ครูจัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกวัน 4.ครูจัดหาน้ำยาล้างมือ และให้นักเรียนล้างมือ 7 ขั้นตอนก่อนรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน (ใช้เพลงเป็นสัญญาณแปรงฟันล้างมือ) 5.ครูจัดกิจกรรมวิ่งรอบสนามวันละ 2 รอบ/เดินวันละ 2,000 ก้าวทุกวัน 6.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครูอนามัย ตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี ตรวจ ตา เหา ฟัน ความสะอาดของร่างกาย พบเด็กที่มีปัญหาสุขภาพส่งต่อรพ.สตหนองตาเปล่ง/โรงพยาบาลชำน ึ7.ครูอนามัย/ครูประจำชั้น/นักเรียนแกนนำ ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง นักเรียนทุกระดับชั้นตั้งแต่ อ.1-ม.3 เทอมละ 1 ครั้ง โดยใช้โปรแกรมคิดคำนวณของมหิดล 8.ครูพลศึกษาทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนทุกชั้นเรียน รายปี
|
236 | 234 |
3. ประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานจำนาน 92 คนรับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส
2.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานจำนวน 92 คน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต(Output) 1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลลัพธ์ (Outcome) 1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน เข้าใจนโยบ่ายแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่ทำจริง1.ผู้รับผิดชอบทำหนังสือเชิญประชุมครู ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อสม.ประจำทุกหมู่บ้าน, เจ้าหน้าที่ รพ.สต.,ผู้นำนักเรียน รับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กทไยแก้มใส
|
445 | 452 |
4. จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานจำนาน 92 คนรับทราบแนวทางปฏิบัติงานของโครงการเด็กไทยแก้มใส
2.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานจำนวน 92 คน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต(Output)
1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน1.จัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส ร กิจกรรมที่ทำจริงระดมความคิดเห็นจากชุมชน ผู้แทนผู้ปกครอง ครู ผู้แทนนักเรียน ผู้นำชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนหาข้อสรุปร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติงานร่วมกันตามกิจกรรมดังนี้ 1. แก้มใสใส่ใจลูกรัก 2. การสร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส 3. การจัดความรู้ด้านสุขภาพ/และการป้องกัน "ลดหวาน มัน เค็ม น้ำอัดลม" 4. การปลูกพืชผักสวนครัว/ชุมชนปลอดขยะ 5. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
|
234 | 293 |
5. จัดอบรมให้กับครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง1.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
2.ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงาน
จำนวน 92 คนเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
3. ครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง
ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียนจำนวน 131 คน รับรู้เข้าใจสามารถปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติโครงการเด็กไทยแก้มใส กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน1.จัดอบรมให้กับครู/บุคลากรในโรงเรียน ครูอนามัย/อาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ตัวแทนผู้ปกครอง ในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน 2.วิทยากรจากโรงพยาบาลชำนิ ให้ความรู้ ดังนี้ 1.การส่งเสริมพฤติกรรมใสวัยเด็ก(โดยนส.จินตนา ฉายา ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )2.การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนโดย(โดย นส.บุษบา เหมือนสีชัย ตำแหน่งนักโภชนการ) 3.การส่งเสริมการออกกำลังกายในเด็ก (โดยนส.นุชจิเรศ ทางทอง ตำแหน่ง นักกายภาพบำบัด) 3.ผู้เข้าร่วมฝึกการตักสำรับอาหารกลางวันนักเรียน โดยมีครูเวรประจำวันเป็นผู้ให้ความรู้ 4.ผู้รับผิดชอบโครงการ(นายสุรศักดิ์ ปิ่นเพชร ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหัวสะพาน)ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กไทยแก้มใส 5.ผู้ดูแลโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส นายอรุณ ทรงแสงจันทร์ ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กไทยแก้มใส 6.ผู้ดูแลอาหารกลางวันนักเรียน ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทำเมนูอาหารกลางวัน ให้ถูกหลักโภชนาการ กิจกรรมที่ทำจริง1.เชิญประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษา ตัวแทนผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและนักเรียนเข้าร่วมประชุมชี้แจงนโยบายและวางแผนจัดทำแผนปฎิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส 2.ดำเนินการจัดทำแผนปฎิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใสให้ครอบคลุมทั้ง 8 องค์ประกอบ 3.จัดอบรมขยายเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส(ความรู้สู่การปฎิบัติ) โดยเชิญครูและบุคลากรทางการศึกษา ครูอนามัย ครูอาหารกลางวัน นักเรียนแกนนำ ผู้แทนผู้ปกครองในกลุ่มโรงเรียนอำเภอชำนิ 2 จำนวน 9 โรงเรียน เพื่อร่วมอบรมนำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรม
|
445 | 445 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 11 | 5 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 100,000.00 | 40,000.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 20 | 17 | ✔ |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
1.งบประมาณไม่เพียงพอ 2.การปฎิบัติงานล่าช้าไม่ตรงระยะเวลาที่วางไว้ |
1.งบไม่เพียงพอกับเป้าหมายที่วางไว้เป็นสาเหตุให้ทำงานได้ไม่เต็มที่ 2.ฤดูกาล สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย ฝนตก(บ้าง) |
1.ดำเนินการหางบประมาณจากหน่วยงานอื่น เอกชน ฯลฯ 2.เลื่อนเวลาจากปฎิทินที่วางไว้ |
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
- ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 ( 25 ต.ค. 2559 )
- เลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน เพื่อประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนและการแปรรูปอาหาร ( 1 พ.ย. 2559 - 31 ม.ค. 2560 )
- เลี้ยงสุกรขุน ( 1 พ.ย. 2559 - 31 ม.ค. 2560 )
- สหกรณ์การผลิตและ สหกรณ์ร้านค้ารับซื้อพืชผักสวนครัวการเกษตรในโรงเรียนและจำหน่ายเป็นวัตถุดิบประกอบอาหารให้กับโครงการอาหารกลางวันนักเรียนและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์โครงการเข้าค่ายเยาวชนต้นกล้าสหกรณ์ ( 1 พ.ย. 2559 - 30 พ.ย. 2559 )
(................................)
นายสุรศักดิ์ ปิ่นเพชร
ผู้รับผิดชอบโครงการ