ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหัวสะพาน

รหัสโครงการ ศรร.1312-069 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.23 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

1.รูปแบบการผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานสอดคล้องกบวิถีชีวิตกับชุมชน

1.มีการกำหนดเป้าหมายและวางแผนการผลิตการเกษตรชัดเจนในด้านปริมาณการผลิต การดูแลบำรุงรักษาโดยเน้นการใช้วิธีทางธรรมชาติ มีการจดบันทึกผลจากการทำ ผลผลิตทางการเกษตรนำมาขายผ่านร้านสหกรณ์ในโรงเรียน สหกรณ์การผลิตให้แก่โรงครัวเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ส่งผลให้นักเรียนมีโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง

จัดกิจกรรมดำเนินอย่างต่อเนื่องในปีต่อๆไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

1.จัดตั้งสหกรณ์นักเรียน

1.ดำเนินการโดยนักเรียนและมีนักเรียนเป็นสมาชิกมีครูที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์เพื่อช่วยเหลือให้คำแนะนำในการดำเนินงานตามขั้นตอนผลการจัดตั่งสหกรณ์นักเรียน นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การจดบันทึกบัญชี ค้าขาย รายรับ-รายจ่าย

จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้นต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

1.กิจกรรมโครงการอาหารกลางวันนักเรียน

การจัดบริการอาหารของนักเรียนโดยจะจัดบริการ 1 มื่้อ อาหารหลักคือ อาหารกลางวัน และอาหารเสริมนม 1 มื้อ (ว่างเช้าหรือบ่าย)เป็นการจัดบริการฟรีให้แก่เด็กทุกคนตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับประถมศึกษา ผลจากการจัดบริการอาหารกลางวันนักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย บริโภคทุกวันตลอดปีการศึกษา

จัดกิจกรรมอาหารกลางวันนักเรียนอย่างต่อเนื่องทุกวันโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรมการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียน

โดยครูอนามัยโรงเรียน ครูประจำชั้น และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอ ด้วยวิธีการ สำรวจชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูงทุกชั้นเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อติดตามและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง

จัดระบบติดตามภาวะโภชนาการและแก้ไขเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ 7 ขั้นตอน

จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง ได้แก่ การล้างมือ 7 ขั้นตอน การใช้ช้อนรับประทานอาหาร การใช้ช้อนกลางเมื่อรับประทานอาหารร่วมผู้อื่น การแปรงฟันหลังรับประทานอาหารรวมทั้งฝึกมารยาท ฝึกปฎิบัติในช่วงเวลารับประทานอาหารกลางวันก่อน-หลังรับประทานอาหาร ผลจากการจัดกิจกรรมเด็กมีสุขนิสัยที่ดีมากขึ้น

จัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียนทุกวันอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

อนามัยสิ่งแวดล้อมโรงเรียนสวยด้วยมือเรา

โดยครูทำหน้าที่กำกับดูแล วิธีการดูแลทำความสะอาดที่ถูกต้อง มีการจัดแบ่งกลุ่มตามชั้นเรียนเป็นกลุ่มๆ เพื่อดูแลรักษาความสะอาด โรงครัว โรงอาหาร ห้องส้วม การเก็บขยะรอบอาคารเรียน การแยกประเภทขยะ ให้ถูกสุขลักษณะ จะใช้เวลาช่วงเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาติ จัดทำความสะอาดในห้องเรียนและภายในโรงเรียน ผลจากการปฎิบัติ ภาพสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนสะอาดถูกสุขลักษณะ น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน

จัดกิจกรรมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะทุกวันอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

โดยครูอนามัยโรงเรียนและเจ้าหน้าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เจ้าหน้าที่ทันตแพทย์ โรงพยาลประจำอำเภอเป็นผู้ดำเนินการ เช่น การปฐมพยาบาลเบื่องต้น การจัดห้องพยาบาล การตรวจเหา การตรวจสุขภาพในช่องปาก(ฟัน)และการตรวจความสะอาดของร่างกายนักเรียนเพื่อช่วยเหลือแก้ไข การเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิต ผลจากการจัดกิจกรรมทำให้นักเรียนได้รับความช่วยเหลือแก้ไข

จัดกิจกรรมบริการสุขภาพนักเรียนอย่างต่อเนื่องทุกเดือน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมเกษตรปลอดสารพิษ

สหกรณ์นักเรียน สุขบัญญัติ โภชนบัญญัติ สุขาภิบาลอาหารและออกกำลังกาย จัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ ทุกชั้นเรียนโดยเน้นกิจกรรมด้านการเกษตรปลอดสารพิษ สหกรณ์นักเรียน โภชนาการและสุขภาพโดยบูรณาการจากภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการจัดทำ จัดซื้อ จัดหา และพัฒนาสื่อ กระบวนการ นวัตกรรม ในการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฎิบัติจริงทุกกิจกรรม

จัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ และสุขภาพทุกชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง ควบคู่กับการลงมือปฎิบัติจริง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

โรงพยาบาลชำนิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองตาเปล่ง องค์การบริหารส่วนตำบลช่อผกา โรงเรียนบ้านช่อผกา โรงเรียนบ้านบุ-หนองเทา โรงเรียนบ้านสำโรงโคกเพชร กองทุนหมู่บ้านหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 กองทุนพึ่งพาตนเองหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 กองทุนสตรีหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านหัวสะพาน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีสภาพพื้นที่เหมาะกับการทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ประมง ส่งผลให้เด็กได้ทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อการเรียนรู้และฝึกทักษะอาชีพสามารถนำไปใช้ในการชีพได้

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  • โรงเรียนได้กำหนดหลักการดำเนินงานตามรอยพระยุคบาทฯ เพื่อประยุกต์ใช้ตามโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โดยมีเกิดจากความร่วมมือจากชุมชน โรงเรียนเป็นฐานของการพัฒนาสู่ผู้เรียนลงมือปฎิบัติจริงตามกิจกรรมและมีองค์กรภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน ส่งผลให้ผู้เรียนมีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี เรียนดี มีจิตสาธารณะและขยายผลสู่ชุมชนต่อไป

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. เกษตรในโรงเรียน เด็กและครูร่วมกันเตรียมแปลงเกษตรขุดลอกบ่อเลี้ยงปลา สร้างโรงเรือนเลี้ยงสุกรเพื่อลงมือปฎิบัติกิจกรรมดังนี้

- เลี้ยงสุกรขุน เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ และบ่อดิน ปลูกถั่วงอก ปลูกมะละกอ เพาะเห็ดนางฟ้า ปลูกพื้ชตระกูลร้าน ปลูกกล้วย ปลูกผักเครื่องปรุง เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ทำปุ๋ยหมัก โดยรับผิดชอบเป็นระดับชั้น ตั้งแต่เริ่มต้น การดูแล การเก็บผลผลิตและจำหน่ายผลผลิต จำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน ส่งต่อไปยังอาหารกลางวันนักเรียน 2. สหกรณ์นักเรียนมี 3 รูปแบบ สหกรณ์การผลิต ,สหกรณ์การค้า, และโรงเรียนธนาคาร โดยมีนักเรียนดำเนินกิจกรรมเป็นคณะกรรมการในการทำงานอย่างเป็นระบบโดยมีครูคอยกำกับให้คำแนะนำปรึกษา 3. การจัดบริการอาหารในโรงเรียน ครูรับผิดชอบอาหารกลางวันร่วมกับเด็กนักเรียนในการกำหนดเมนูอาหารกลางวันร่วมกันวางแผนจัดเมนูอาหารกลางวัน ตามมาตรฐานโภชนาการอาหารหมุนเวียนจากผลผลิตที่ได้จากการเกษตรในโรงเรียน 4. การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายนักเรียนและสุขภาพ โดยครูและผู้นำนักเรียนแต่ละระดับชั้น ชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง ทุกๆเดือน เพื่อทราบข้อมูลนำไปเฝ้าระวังและติดตามสิ้นปีการศึกษาเด็กได้ทดสอบ สมรรถภาพทางกายโดยครูพลศึกษา 5. การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน โดยนักเรียนได้แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง, ล้างมือ 7 ขั้นตอน, วิ่งวันละ 2 รอบสนาม, เดินวันละ 2,000 ก้าว/วัน เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี ที่แข็งแรง 6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะโดยเด็กและครูร่วมกันลงมือปฎิบัติกิจกรรมส้วมสุขสันต์, อย.น้อย ทำให้สิ่งแวดล้อมน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน 7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียนโดยผู้นำนักเรียนและครู ตรวจความสะอาดของนักเรียน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง, ตรวจเหา 1 ครั้ง/เดือน , ชั่งน้ำหนัก 1 ครั้ง/เดือน ตลอดจนจัดหาจัดทำสื่อวัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการจัดกิจกรรม 8. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพโดยครูจัดประสบการณ์ให้กับนักเรียนในห้องเรียนทุกระดับชั้น เรื่องเกษตรปลอดสารพิษ , สหกรณ์ ,สุขาภิบาลอาหาร, สุขบัญญัติ, การออกกำลังกาย

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • ผู้ปกครองเข้าร่วมประชุมและส่งเสริมสนับสนุนให้ความร่วมือในเรื่องการเกษตรในโรงเรียน การเลี้ยงสัตว์ ประมง ในการจัดกิจกรรมของนักเรียน ตลอดจนสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผัก ฯลฯ และร่วมทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การปลูกข้าวในนาโรงเรียน
  • ชุมชนช่วยส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมของโรงเรียน ประชาสัมพันธ์ เฝ้าระวังดูแล สนับสนุนงบประมาณการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพ สนับสนุนทรัพยากรตามความเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

1.จัดซื้อเพิ่มเติมจากชุมชน ผู้ปกครอง

  1. บันทึกการซื้อวัตถุดิบจากชุมชนโดยครูเวรอาหารกลางวันประจำวัน

1.กำหนดวางแผนการปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ประมงหมุนเวียน ระยะยาว เพื่อจะได้เพียงพอในการจัดทำเมนูอาหารกลางวันให้เพียงพอกับนักเรียนตามฤดูกาล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

1.เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ โดยนักเรียนรับผิดชอบ ดูแล ตั้งแต่เริ่มจนเก็บผลผลิต 2.เลี้ยงไก่พันธุ์เนื้อ โดยนักเรียนรับผิดชอบ ดูแล ตั้งแต่เริ่มจนเก็บผลผลิต 3.เลี้ยงเป็ด โดยนักเรียนรับผิดชอบ ดูแล ตั้งแต่เริ่มจนเก็บผลผลิต 4.เลี้ยงหมู โดยนักเรียนรับผิดชอบ ดูแล ตั้งแต่เริ่มจนเก็บผลผลิต

1.บันทึกการเลี้ยงและดูแล แต่ละวัน ,การให้อาหารสัตว์
2.บันทึกการขายส่งต่อสหกรณ์นักเรียน อาหารกลางวันนักเรียน

ดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม มีการวางแผน มีระบบการทำงาน ติดตาม ประเมินผลการทำงานอย่างต่อเนื่องโดยคณะทำงานของนักเรียนที่รับผิดชอบเกษตรในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)
  1. นักเรียนเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์และบ่อดิน โดยนักเรียนรับผิดชอบ ดูแล ตั้งแต่เริ่มจนเก็บผลผลิต
  2. นักเรียนเลี้ยงกบในบ่อปูนซีเมนต์ โดยนักเรียนรับผิดชอบ ดูแล ตั้งแต่เริ่มจนเก็บผลผลิต

1.บันทึกการเลี้ยงและดูแล แต่ละวัน ,การให้อาหารสัตว์
2.บันทึกการขายส่งต่อสหกรณ์นักเรียน อาหารกลางวันนักเรียน

ดำเนินกิจกรรมทุกกิจกรรม มีการวางแผน มีระบบการทำงาน ติดตาม ประเมินผลการทำงานอย่างต่อเนื่องโดยคณะทำงานของนักเรียนที่รับผิดชอบเกษตรในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

เด็กนำห่อข้าวและอาหารมารับประทานอาหารเช้าที่โรงเรียน

ห่อข้าวนักเรียน

โรงเรียนจะดำเนินจัดทำอาหารเช้าให้กับนักเรียนที่ไม่ได้ทานข้าวมาจากบ้านนักเรียนที่ยากจน ขาดแคลนและนักเรียนที่ภาวะทุพโภชนาการ

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ได้จัดทำเมนูอาหารให้กับนักเรียน มีผัก ผลไม้ ทุกวันตามหลักโภชนาการอาหาร

เมนู Thai school lunchตลอดปีการศึกษา

จัดกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อผลิตให้สอดคล้องกับเมนูThai school lunch ตลอดปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้จัดทำเมนูอาหารให้กับนักเรียน มีผัก ผลไม้ ทุกวันตามหลักโภชนาการอาหาร

เมนู Thai school lunchตลอดปีการศึกษา

จัดกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อผลิตให้สอดคล้องกับเมนูThai school lunch ตลอดปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ได้จัดทำเมนูอาหารให้กับนักเรียน มีผัก ผลไม้ ทุกวันตามหลักโภชนาการอาหาร

เมนู Thai school lunchตลอดปีการศึกษา

จัดกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียนเพื่อผลิตให้สอดคล้องกับเมนูThai school lunch ตลอดปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

1.ผู้ปกครองนักเรียนมาให้ความรู้ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผักในการปลูกพืชผักปลอดสารพิษ 2.เกษตรอำเภอชำนิ สนับสนุนต้นกล้าผักต่างๆ และมีการทำปุ๋ยอินทรีย์เพื่อนำมาใช้ในการดูแลรักษาให้ปลอดสารพิษ 3.ผลผลิตที่เหลือรับประทานในครอบครัวมาจำหน่ายให้กับอาหารกลางวันนักเรียนเป็นบางครั้ง

  1. บันทึกการซื้อวัตถุดิบจากชุมชนโดยครูเวรอาหารกลางวันประจำวัน
  2. บันทึกการให้การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืชผักต่างๆ
  1. ให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีบทบาทหน้าที่ในการวางแผน จัดการมากยิ่งขึ้นอย่างหลากหลาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

1.จัดทำเมนูอาหารแยกระดับชั้น อนุบาล ประถม มัธยม 2.จัดทำเมนู Thai school lunch ล่วงหน้า 1 เดือน

โปรแกรมเมนู Thai school lunch

ใช้โปรแกรมเมนู Thai school lunch ให้มีประสิทธิภาพตรงตามเกษตรในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

1.มีการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง ทุกเดือนเพื่อหาจัดทำฐานข้อมูลในการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสุขภาพ

1.สมุดบันทึกการชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง ทุกชั้น 2.ใช้โปรแกรมเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพนักเรียนและสุขภาพ ของมหาวิทยาลัยมหิดล

ทำเป็นประจำ ต่อเนื่อง และยั่งยีน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/2
เตี้ย 4.90 4.90% 1.94 1.94% 1.51 1.51% 1.94 1.94% 2.53 2.53% 3.96 3.96% 2.48 2.48% 1.98 1.98% 9.35 9.35% 10.24 10.24% 6.10 6.10% 8.76 8.76% 5.29 5.29% 7.49 7.49% 5.73 5.73% 5.29 5.29% 4.31 4.31%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.76 11.76% 7.77 7.77% 8.04 8.04% 7.77 7.77% 5.56 5.56% 6.44 6.44% 6.44 6.44% 7.92 7.92% 9.35 9.35% 10.24 10.24% 8.45 8.45% 8.76 8.76% 8.37 8.37% 8.37 8.37% 6.17 6.17% 7.94 7.94% 6.70 6.70%
ผอม 10.89 10.89% 6.34 6.34% 7.04 7.04% 5.88 5.88% 7.04 7.04% 5.47 5.47% 7.46 7.46% 6.44 6.44% 13.02 13.02% 11.16 11.16% 7.51 7.51% 14.10 14.10% 13.72 13.72% 8.00 8.00% 8.81 8.81% 9.43 9.43% 14.29 14.29%
ผอม+ค่อนข้างผอม 16.83 16.83% 14.15 14.15% 15.58 15.58% 13.73 13.73% 16.08 16.08% 13.93 13.93% 15.92 15.92% 16.34 16.34% 13.02 13.02% 15.35 15.35% 10.33 10.33% 14.10 14.10% 13.72 13.72% 8.00 8.00% 8.81 8.81% 16.98 16.98% 16.19 16.19%
อ้วน 2.97 2.97% 4.39 4.39% 5.03 5.03% 3.92 3.92% 5.03 5.03% 4.98 4.98% 5.47 5.47% 4.46 4.46% 13.49 13.49% 6.05 6.05% 8.45 8.45% 0.00 0.00% 8.85 8.85% 10.00 10.00% 0.00 0.00% 8.02 8.02% 12.38 12.38%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.43% 7.43% 7.32% 7.32% 9.05% 9.05% 6.37% 6.37% 8.54% 8.54% 7.46% 7.46% 8.96% 8.96% 7.92% 7.92% 13.49% 13.49% 9.30% 9.30% 13.62% 13.62% 13.22% 13.22% 11.95% 11.95% 10.00% 10.00% 10.57% 10.57% 16.04% 16.04% 17.14% 17.14%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

1.จัดสำรับอาหารให้สอดคล้องให้ตรงตามมาตรฐานอาหาร 2.ออกกำลังกายทุกวัน 3.ให้ความรู้ แนะนำ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอำเภอ

สถิติข้อมูลชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง ภาวะโภชนาการ ลดลง

  • ควบคุมพฤติกรรมการกินทั้งที่บ้านและโรงเรียน
  • พฤติกรรมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

1.จัดสำรับอาหารให้สอดคล้องให้ตรงตามมาตรฐานอาหาร 2.ออกกำลังกายทุกวัน 3.ให้ความรู้ แนะนำ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

สถิติข้อมูลชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง ภาวะโภชนาการ ลดลง

  • ควบคุมพฤติกรรมการกินทั้งที่บ้านและโรงเรียน
  • พฤติกรรมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

1.จัดสำรับอาหารให้สอดคล้องให้ตรงตามมาตรฐานอาหาร 2.ออกกำลังกายทุกวัน 3.ให้ความรู้ แนะนำ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

สถิติข้อมูลชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง ภาวะโภชนาการ ลดลง

  • ควบคุมพฤติกรรมการกินทั้งที่บ้านและโรงเรียน
  • พฤติกรรมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

1.อาหารเสริมนม 2.เสริมธาตุเหล็ก 3.อาหาร ผัก ผลไม้ ที่มีประโยชน์เพิ่มขึ้น

1.บันทึกการดื่มนม แต่ละชั้น 2.บันทึกการรับธาตุเหล็ก 1 ครั้ง/เดือน

1.นำข้อมูลไปหาแนวทางแก้ไขต่อไปอย่างเป็นระบบหรือส่งต่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ามาดูแล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

1.แนะนำผู้ปกครองเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ 2.จัดเสริม นม อาหาร ที่บ้าน 3.กินอาหารให้ครบ 5 หมู่

1.สมุดบันทึกสุขภาพ 2.สมุดบันทึกให้การช่วยเหลือและส่งต่อ

1.นำข้อมูลไปหาแนวทางแก้ไขต่อไปอย่างเป็นระบบหรือส่งต่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ามาดูแล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โรงพยาบาลชำนิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองตาเปล่ง องค์การบริหารส่วนตำบลช่อผกา โรงเรียนบ้านช่อผกา โรงเรียนบ้านบุ-หนองเทา โรงเรียนบ้านสำโรงโคกเพชร กองทุนหมู่บ้านหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 กองทุนพึ่งพาตนเองหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 กองทุนสตรีหมู่ที่ 4,ุ6,11,13 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านหัวสะพาน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh