ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านยางเครือ

รหัสโครงการ ศรร.1311-085 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.39 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

ปลูกผักหมุนเวียนตามฤดูกาล โดยปลูกเป็นแปลงขนาด 1X5 เมตร ผักที่ปลูกมีคะน้า ผักบุ้ง กวางตุ้ง หัวไชเท้า ถั่วฝักยาว ฟักทอง บวบและเพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน สำหรับประกอบอาหารกลางวันด้วย ปลูกผลไม้ เช่นกล้วยน้ำว้า แก้วมังกร มะม่วงมีการเลี้ยงปลาดุกจำนวน 2,000 เพาะเห็ดนางฟ้า

สร้างโรงเรือนผักกางมุ้ง เพื่อป้องกันแมลง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์แก้มใส

จัดทำสหกรณ์นักเรียนโดยเน้นที่การออมของนักเรียนทุกคน และมีการขายผักผ่านสหกรณ์นักเรียน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

Thai school lunch

โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

รับผลผลิตทางการเกษตรสำหรับประกอบอาหารกลางวันจากชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ติดตามภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม Thai Growth

โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนากรนักเรียนรายบุคคล มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และมีการประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Thai Growth

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมฟันสวย สุขภาพดี

กิจกรรมแปรงฟันทุกวันหลังอาหารเที่ยง จัดทำที่ล้างมือให้นักเรียน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมคัดแยกขยะ

โรงเรียนมีการจัดทำที่คัดแยกขยะ มีการแบ่งเวรให้นักเรียนทำความสะอาดบริเวรทุกวัน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ตรวจสุขภาพ

มีการตรวจสุขภาพความสะอาดของนักเรียนโดยครูสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง และมีเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกุดเมืองฮามเข้ามาตรวจสุขภาพ และให้ความรู้นักเรียนเดือนละหนึ่งครั้ง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

บูรการเรียนรู้สู่ห้องเรียน

มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในเรื่อง การจัดการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย ในห้องเรียนให้นักเรียนทุกคนได้รับความรู้โดยบูรณาการสอนมีการให้นักเรียนลงมือกิจกรรมด้วยตนเอง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ครูและบุคากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาคีเครือข่าย เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลกุดเมืองฮาม รพ.สต.กุดเมืองฮาม โรงพยาบาลยางชุมน้อย ให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโรงเรียนบ้านยางเครือ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

สภาพแวดล้อมของโรงเรียน มีพื้นที่เอื้ออำนวยในการดำเนินการเกษตร อยูใกล้ชุมชน ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ครูบคลากรทางการศึกษา และนักเรียนทุกคน มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมให้ประสบผลสำเร็จ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู นักเรียนและแม่ครัว ในเรื่องการจัดเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunce

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และสามารถนำความรู้ที่ได้จากโรงเรียนไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีผักและผลไม้เพียงพอสำหรับ ผลไม้ปลูกเองในโรงเรียน

ภาพถ่าย สมุดบัญชีสหกรณ์นักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงหมู

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุก ปลาตะเพียน

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดผักให้นักเรียนอนุบาลเพียงพอทุกวัน

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดผักผลไม้ให้นัเรียนประถมเพียงพอทุกวัน

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตรปลอดสารพิษจากชุมชน เพื่อประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักรียน

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

จัดทำเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

ภาพถ่าย เมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ติดตามภาวะโภชาการนักเรียรายบุคคลโดยใช้โปรแกรม Thai Growth

ภาพถ่าย ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/2
เตี้ย 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.37 1.37% 1.37 1.37% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 3.75 3.75% 3.75 3.75%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 29.17 29.17% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 1.39 1.39% 1.37 1.37% 1.37 1.37% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 13.75 13.75% 13.75 13.75%
ผอม 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 6.85 6.85% 2.74 2.74% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 7.50 7.50% 7.50 7.50%
ผอม+ค่อนข้างผอม 2.78 2.78% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 9.59 9.59% 4.11 4.11% 2.78 2.78% 2.78 2.78% 12.50 12.50% 12.50 12.50%
อ้วน 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 1.39 1.39% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.50 2.50% 2.50 2.50%
เริ่มอ้วน+อ้วน 1.39% 1.39% 1.39% 1.39% 1.39% 1.39% 2.78% 2.78% 1.37% 1.37% 1.37% 1.37% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 7.50% 7.50% 7.50% 7.50%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

ข้อมูลภาวะโภชนาการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการป็นรายบุคคล โดยเด็กนักเรียนที่เริ่มอ้วน ก็จะให้นักเรียนออกกำลังกาย เตี้ยจะจัดกิจกรรมให้ออกกำลังกาย ดื่มนม

ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการ โดยโรงเรียนมีการเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อพูดคุยกับผู้ปกครองหาแนวทางแก้ไขปัญหานักเรียนร่วมกัน

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ครูและบุคากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาคีเครือข่าย เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลกุดเมืองฮาม รพ.สต.กุดเมืองฮาม โรงพยาบาลยางชุมน้อย ให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโรงเรียนบ้านยางเครือ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh