ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านบะคอม

รหัสโครงการ ศรร.1311-077 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.31 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. ปลูกผักกางมุ้ง
  2. กลยุทธ์ให้อาหารปลาดุกช่วงแดดจ้า
  3. บ้านเห็ด
  1. ทำโรงเรือนยกพื้นปลูกผัก ได้แก่ ผักกาดเขียวปลี ผักบุ้ง ผักคะน้า ผักสลัด และมะเขือ ซึ่งเป็นผักที่มีแมลง เพลี้ย มากัดกิน ทำให้ต้องพึ่งยาฆ่าแมลง ทางโรงเรียนจึงทดลองใช้วิธีปลูกผักกลางมุ้ง ผลพบว่า สามารถป้องกันแมลงศัตรูพืชได้ โดยไม่ต้องใช้ยาฆ่าแมลง เป็นผักปลอดสารพิษ
  2. การให้อาหารช่วงแดดจ้า (รอบเดียว) จะทำให้ปลากินอาหารได้เร็วกว่าปกติ ทำให้ประหยัดอาหารปลาที่เดิมต้องให้วันละ 2 รอบ คือ เช้าเย็น และสามารถจับปลาไปขายได้เร็วขึ้น เพราะปลาโตเร็ว
  3. นำถังน้ำเก่ามาทำบ้านเห็ด
  • ทางโรงเรียนจะดำเนินโครงการนี้ต่อเนื่อง ในเรื่องผักกางมุ้ง และปลาดุก ให้ยั่งยืน โดยจะขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

ผู้ปกครองนักเรียนเปลียนเวรกันมาประกอบอาหารกลางวัน ด้วยจิตอาสา

ประชุมผู้ปกครอง เสนอรายชื่อแต่งตั้งเป็นกลุ่มที่มสมัครใจมาช่วยทำอาหารกลางวัน โดยไม่มีค่าตอบแทน

จัดทำปฏิทินเวรประจำวันประกอบอาหาร ร่วมกับครูในโรงเรียน โดยครูมีบทบาทเป็นที่ปรึกษา

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเด็กเสี่ยง

ทีมสภานักเรียนจัดการติดตาม โดยวิธีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เพื่อเฝ้าระวังกลุ่มเด็กเสี่ยง

ทางโรงเรียนจัดกิจกรรมติดตามเฝ้าระวังเด็กเสี่ยง ด้วยการเยี่ยมบ้าน ปรึกษาแพทย์ที่ รพ.สต. และส่งเสริมการออกกำลังกายและการกิน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

ทางโรงเรียนใช้ระบบกลุ่มพัฒนาคุณภาพทั้งระบบ

ใช้กลไกนักเรียนในการแบ่งกลุ่มออกเป็น 7 กลุ่ม ดูแลวินัย และคุณธรรม ความประพฤติของนักเรียนในโรงเรียน และที่บ้าน ผลที่เกิดขึ้น ทำให้นักเรียนมีวินัย มีความประพฤติดีขึ้น

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. ผู้ปกครองนักเรียนเข้ามาร่วมพัฒนาในโรงเรียนทั้งระบบในฐานะโรงเรียนเป็นของชุมชน
  2. คณะกรรมการสถานศึกษา เข้ามาส่งเสริมการพัฒนาร่วมกัน
  3. คณะครูในโรงเรียน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  • โรงเรียนอยู่ห่างจากชุมชน ไม่มีมลพิษรบกวน ส่งผลให้การทำเกษตรในโรงเรียนมีคุณภาพดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. บุคลากรคณะครูมีความเข้มแข็ง เสียสละ อดทน ในการทำงาน มีการประชุมติดตามผลการทำโครงการเทอมละ 1 ครั้ง

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  • เกิดการเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการโครงการเด็กไทยแก้มใส เรียนรู้การจัดการเด็กในกลุ่มเป้าหมาย เรียนรู้เรื่องการทำงานเป็นทีมระหว่างครู ผู้ปกครองและนักเรียน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการอาหารของโรงเรียนด้วยการแบ่งเวรกันทำอาหารกลางวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

เนื้อที่ในการทำเกษตรมีขนาดเล็ก ผลผลิตที่ได้จะให้เด็กนักเรียนนำกลับไปทำอาหารที่บ้าน

  • แปลงเกษตรในเรียนเรียน
  • รายงานกิจกรรมในโครงการ

ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

ไข่ไก่ที่เลี้ยงนำมาทำเป็นอาหารในมื้อกลางวันได้เพียงพอ

ปริมาณไข่ไก่ในแต่ละมื้อ และรูปภาพการรายงานกิจกรรม

มีแนวคิดจะพัฒนาอาหารไก่ไข่ โดยใช้วัตถุดิบจากเศษผักที่เหลือหลังการเก็บเกี่ยว แทนการซื้ออาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกในโรงเรียน

ภาพกิจกรรมการจำหน่ายปลาดุก

ขยายองค์ความรู้การเลี้ยงปลาดุกสู่ชุมชน โดยผ่านนักเรียนสู่ผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
  • ในทุกมื้อของอาหารกลางวันจะมีเมนูผัก เช่น แกงอ่อม ผัดผัก น้ำพริก ผักเหนาะ เป็นต้น โดยเน้นผักพื้นบ้านที่ปลูกในชน
  • มีผลไม้ตามฤดูกาลเสริมให้นักเรียนทานหลังมือ้อาหารกลางวัน
  • ข้อมูลเมนูอาหารในโปรแกรม Thai School Lunch

ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม
  • ในทุกมื้อของอาหารกลางวันจะมีเมนูผัก เช่น แกงอ่อม ผัดผัก น้ำพริก ผักเหนาะ เป็นต้น โดยเน้นผักพื้นบ้านที่ปลูกในชน
  • มีผลไม้ตามฤดูกาลเสริมให้นักเรียนทานหลังมือ้อาหารกลางวัน
  • ข้อมูลเมนูอาหารในโปรแกรม Thai School Lunch

ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
  • ทางโรงเรียนรับซื้อผักจากชาวบ้านในชุมชน เป็นผักปลอดสารพิษ จำนวน 3 ราย เพื่อนำมาทำอาหารกลางวัน
  • ปศุสัตว์จังหวัดมาให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังโรคในไก่ฟักไข่
  • มีเอกสารจัดซื้อวัตถุดิบอาหารจากชาวบ้านในชุมชน
  • รูปภาพการทำกิจกรรม

ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
  • การใช้โปรแกรมยังทำได้ไม่สมบูรณ์เต็มที่ เนื่องจากมีข้อจำกัดในการใช้โปรแกรม

เมนูอาหารกลางวันที่ทำในโรงเรียน

ประยุกต์เมนูอาหารพื้นบ้านในโปรแกรม Thai School Lunch ให้ได้รับสารอาหารที่เท่ากัน เพื่อให้สะดวกกับการหาวัตถุดิบที่มีในหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/1
เตี้ย 2.04 2.04% 2.08 2.08% 4.76 4.76% 2.08 2.08% 2.44 2.44% 6.25 6.25% 2.44 2.44% 4.76 4.76% 2.33 2.33% 2.38 2.38% 2.38 2.38%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.04 2.04% 2.08 2.08% 4.76 4.76% 2.08 2.08% 12.20 12.20% 25.00 25.00% 4.88 4.88% 7.14 7.14% 2.33 2.33% 2.38 2.38% 2.38 2.38%
ผอม 6.12 6.12% 6.25 6.25% 7.14 7.14% 6.25 6.25% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 4.76 4.76% 2.33 2.33% 2.33 2.33% 2.38 2.38%
ผอม+ค่อนข้างผอม 18.37 18.37% 16.67 16.67% 7.14 7.14% 8.33 8.33% 7.32 7.32% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 9.52 9.52% 2.33 2.33% 2.33 2.33% 2.38 2.38%
อ้วน 2.04 2.04% 2.08 2.08% 2.38 2.38% 4.17 4.17% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 2.44 2.44% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
เริ่มอ้วน+อ้วน 6.12% 6.12% 4.17% 4.17% 2.38% 2.38% 4.17% 4.17% 2.44% 2.44% 4.88% 4.88% 4.88% 4.88% 4.76% 4.76% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  • ปี 2558 ภาวะเริมอ้นนและอ้วนของเด็กลดลงตามกราฟ แต่เพิ่มขึ้นในช่วงปิดเทอม
  • ปี 2559 ภาวะเริ่มอ้วน เพิ่มขึ้นเป็นอ้วนไม่ลดลงกระทั่งปิดเทอม เนื่องจากเด็กย่างเข้าสู่วัยรุ่น มีการกินเยอะ

กราฟและข้อมูลสถานการณ์

ให้ความรู้ในกลุ่มเด็กเริ่มอ้วน และอ้วน โดยทำกิจกรรมให้มีการออกกำลังกายมากกว่ากลุ่มเด็กทั่วไป รวมทั้งการควบคุมอาหารร่วมกับผู้ปกครองในเด็กกลุ่มนี้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  • ปี 2558 ภาวะคอนข้างผอมและผอมลดลงอย่างมาก แต่กลับเพิ่มขึ้นในช่วงเทอม 2
  • ปี 2559 ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลงอย่างมากเช่นกัน แต่กลับเพิ่มขึ้นมากในช่วงเทอม 2 ของปิดภาคเรียน
  • สาเหตุเนื่องจากสภาพทางครอบครัวของนักเรียน

กราฟและข้อมูลสถานการณ์

จัดกิจกรรมเยี่ยมผ้ปกครองที่บ้าน เพื่อหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

จากกราฟที่แสดง พบว่า ภาวะเตี้ยและเตี้ย มีทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง ในปี 2558 และ 2559 เนื่องจากคนที่เตี้ยจะเริ่มสูงขึ้น ในขณะที่คนที่ค่อนข้างเตี้ยจะไม่เพิ่มความสูง ความสูงคงที่ ทำให้กราฟที่แสดงผลมีระดับเพิ่มและลดลง

กราฟแสดงสถานการณ์

เพิ่มอาหารเสริมความสูง โดยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีข้อมูลบันทึกระเบียนภาวะทางโภชนาการของนักเรียนแต่ละคน และได้ทำการเรียกเด็กที่เกี่ยวข้องพบและให้คำปรึกษา พร้อมกับแจ้งข้อมูลให้ผู้ปกครองรับทราบ

ระเบียนภาวะทางโภชนาการของนักเรียนแต่ละคน

ประชุมร่วมกับผู้ปกครองหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
  • การทำเมนูอาหารกลางวันโดยใช้ระบบเวร
  • การแก้ไขปัญหาเด็กอ้วน ผอม เตี้ย
  • การปลูกผักในชุมชนแล้วนำมาประกอบอาหารกลางวัน

รายงานกิจกรรมในโครงการ

ทำข้อตกลงกับชุมชนให้ปลูกผักปลอดสารพิษมาขายให้กับโรงเรียน เพื่อให้มีผักที่เพียงพอในมื้อกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. ผู้ปกครองนักเรียนเข้ามาร่วมพัฒนาในโรงเรียนทั้งระบบในฐานะโรงเรียนเป็นของชุมชน
  2. คณะกรรมการสถานศึกษา เข้ามาส่งเสริมการพัฒนาร่วมกัน
  3. คณะครูในโรงเรียน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh