ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)

รหัสโครงการ ศรร.1311-073 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.27 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การศึกษาการทำปุ๋ยหมักจากใบยางพารา ในร่องยางพาราโดยสารเร่ง พด.1

ได้รับการสนับนสนุนการทำงานวิจัย ในโครงการหมอดินน้อย โดยสถานีพัฒนาที่ดินศรีสะเกษ
สนับวิทยากรให้ความรู้ และวัสดุอุปกรณ์ในการทำงานวิจัย

1.ศึกษาการทำปุ๋ยหมักในรูปแบบอื่นๆ ที่จะเพิ่มความสะดวกในการทำงานของเกษตรกร 2.นำความรู้ที่ได้เผยแพร่สู่ชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

การประดิษฐ์อุปกรณ์ทดสอบสมรรถนะร่างกาย อุปกรณ์วัดความยืดหยุ่นร่างกายจากวัสดุเหลือใช้

การประดิษฐ์อุปกรณ์วัดความยืดหยุ่นร่างกายจากเก้าอี้แบบไม่มีที่พิง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

โรงพยาบาลตำบลบึงมะลู องค์การบริหารส่วนตำบลบึงมะลู สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดศรีสะเกษ กองพันทหารราบที่11 หน่วยเฉพาะกิจที่ 1 ศูนย์พัฒนาเกษตรภูสิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ผู้นำหมู่บ้าน บ้านน้ำขวบ, บ้านโนนดู่และบ้านศรีลำดวน ผู้ปกครองนักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านน้ำขวบ, บ้านโนนดู่และบ้านศรีลำดวน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีพื้นที่มาก ถึง 42ไร่ เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเกษตรชุนชนให้ความร่วมมือ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้บริหารมีความเป็นผู้นำและเห็นความสำคัญของกิจกรรมโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส องค์กรต่างๆที่อยู่ใกล้เคียงให้ความสนับสนุน และบุคลากรในโรงเรียน นักเรียนให้ความสำคัญและร่วมมือทำให้กิจกรรมต่างๆ ดำเนินไปด้วยดี จนประสบความสำเร็จ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูให้ความสนใจศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับจุดประสงค์ของโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสแล้วนำใช้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนนักเรียนให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เป็นอย่างดีทั้งในด้านวิชาความรู้ เช่น เรื่องธงโภชนาการการลงมือปฏิบัติด้านการเกษตรที่ปลอดสารเคมีแม่ครัวให้ความร่วมมือการประกอบอาหารที่สะอาดถูกหลักอนามัยตามโปรแกรมThai school lunch

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและผู้นำในชุมชนให้ความร่วมมือเข้าร่วมประชุมสัมมนาเป็นอย่างดีในทุกครั้งที่โรงเรียนจัดกิจกรรมตลอดจนเข้าร่วมเป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ให้กับนักเรียน เช่น การเพาะเห็ดขอนขาว ได้รับความร่วมมือองค์การต่าง ๆ เช่น จาก อบต.บึงมะลู ปรับพื้นที่สำหรับทำการเกษตร และพัฒนาแหล่งน้ำในการทำการเกษตร กองพันทหารราบที่11 หน่วยเฉพาะกิจที่ 1สนุบสนุนพันธุ์กบ ไก่สามสายพันธ์ุ เป็ดพันธ์ุเนื้อ และพัฒนาแหล่งน้ำในการทำการเกษตรโรงพยาบาลตำบลบึงมะลูสนับสนุนเจ้าหน้าที่มาให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะ การให้บริการวัคซีน ตรวจสุขภาพช่องปาก ตรวจวัดสายตา ตรวจความสะอาดของร่างกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนได้ดำเนินการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในกิจกรรมอาหารกลางวันนักเรียนดังนี้ 1.พลิกปลอดสาร 2.มะเขือเปราะ 3.มะนาว 4.มะละกอ 5.บวบหอม และบวบเหลี่ยม 6.ฝัก 7.กล้วย 8.สับปะรส พันธุ์จำโบ้ 9.แก้วมังกร

 

เพิ่มชนิดพันธุ์ผักและผลไม้ เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักและผลไม้ที่หลากหลายขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการจัดกิจกรรมเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ดังนี้ 1.ไก่พันธ์ไข่ 2.ไก่สามสายพันธ์ 3.เป็ดเนื้อ 4.สุกรพันธุ์พื้นเมือง

บันทึกการทำกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

1.ปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 2.ปลาไนในบ่อดิน 3.กบในบ่อ

บันทึกการทำกิจกรรม การจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

เพิ่มปริมาณผลผลิตเพื่อจำหน่ายในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

การดื่มนมที่โรงเรียนจัดให้ในช่วงเวลา 10.00 น. ชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

บัญชีการดื่มนม

เพิ่มอาหารว่าง สำหรับเด็กที่ยังมีภาวะทุพโภชนาการ

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดรายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

รายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

ร.ร.พยามยามผลิตผัก ผลไม้ที่ปลอดสารพิษเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดรายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

รายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

ร.ร.พยามยามผลิตผัก ผลไม้ที่ปลอดสารพิษเอง และให้เพียงพอกับความต้องการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดรายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

รายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

ร.ร.พยามยามผลิตผัก ผลไม้ที่ปลอดสารพิษเอง และให้เพียงพอกับความต้องการ โดยเน้นนักเรียนปลูกเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

-จัดกิจกรรมหนึ่งครอบครัวหนึ่งสวนผักปลอดสารพิษ ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

-สวนผักนักเรียน -ภาพถ่าย

-จัดกิจกรรมหนึ่งครอบครัวหนึ่งสวนผักปลอดสารพิษ ในทุกชั้นเรียน - จัดตลาดผักปลอดสารในโรงเรียนเดือนละ 1 ครั้ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

จัดสำหรับล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน

รายการอาหารตามโปรแกรมThai school lunch

พยายามจัดรายการอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนตามวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงในเดือน พฤษภาคมสิงหาคมพฤศจิกายน และกุมภาพันธ์
ทดสอบมรรถภาพทางกายภาคเรียนละ 1 ครั้ง

สมุดบันทึกสุขภาวะนักเรียน

จัดทำบัญชีรายชื่อนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ และจัดกิจกรรมแก้ปัญหาทุพโภชนาการด้านต่าง ๆ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 10.99 10.99% 9.16 9.16% 9.16 9.16% 9.16 9.16% 4.98 4.98% 6.32 6.32% 4.47 4.47% 5.28 5.28%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 21.98 21.98% 19.08 19.08% 19.08 19.08% 19.08 19.08% 14.56 14.56% 13.83 13.83% 9.35 9.35% 15.04 15.04%
ผอม 10.99 10.99% 6.49 6.49% 3.05 3.05% 3.05 3.05% 7.66 7.66% 4.74 4.74% 1.22 1.22% 3.25 3.25%
ผอม+ค่อนข้างผอม 20.88 20.88% 17.94 17.94% 9.54 9.54% 9.54 9.54% 14.94 14.94% 12.25 12.25% 8.13 8.13% 10.98 10.98%
อ้วน 2.56 2.56% 2.29 2.29% 2.67 2.67% 2.67 2.67% 2.30 2.30% 1.19 1.19% 1.22 1.22% 0.00 0.00%
เริ่มอ้วน+อ้วน 4.40% 4.40% 4.96% 4.96% 3.82% 3.82% 3.82% 3.82% 3.45% 3.45% 2.77% 2.77% 2.85% 2.85% 3.25% 3.25%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

จัดกิจกรรมออกกำลังกายหลังจากกิจกรรมหน้าเสาธงตอนเช้าทุกวันจัดอาหารให้นักเรียนที่มีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนน้อยลงกว่าเด็กปกติ

ภาวะเริ่่มอ้วนและอ้วนลดลงเมื่อเทียบจากปีที่แล้วลดลง0.57 จากข้อมูลภาวะโภชนาการของโรงเรียน

จัดเมนูให้เฉพาะเด็กกลุ่มนี้โดยตรง จัดกล่มออกกำลังกายที่นักเรียนสนใจเพิ่มเติมในเวลาที่เหมาะสม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

จัดกิจกรรมให้นักเรียน อนุบาล1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ดื่มนมทุกวัน และจัดอาหารกลางวันตามโปรแกรมThai School launh ทุกวัน

ภาวะภาวะค่อนข้างผอมและผอมยังสูงขึ้นจากข้อมูลภาวะโภชนาการของโรงเรียน

อาจจะเป็นเพราะความคลาดเคลื่อนจากการวัดส่วนสูงและการชั่งน้ำหนัก ซึงทางโรงเรียนจะดำเนินการแก้ปัญหาในปีต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

นักเรียนได้ออกกำลังกาย ด้วยการกระโดดเชือก

ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลงเมื่อเทียบจากปีที่ผ่านมา

จัดกิจกรรมที่เด็กนักเรียนได้ออกกำลังกายด้วยการกระโดดให้มากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จัดทำบัญชีรายชื่อนักเรียนที่มีภาวะเริ่่มอ้วนและอ้วนภาวะภาวะค่อนข้างผอมและผอม ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย แจ้งให้ครูประจำชั้น ผู้ปกครองทราบ และร่วมมือกันแก้ปัญหา

บัญชีรายชื่อนักเรียนจำแนกตามประเภทของภาวะที่นักเรียนเป็น

จัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาให้เข้มขึ้น และกำกับติดตามอย่างจริงจัง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการประชุมร่วมกันภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลตำบลบึงมะลู เพื่อทำความเข้าใจ และหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน

การประชุมตามโครงการ

สร้างความตระหนักร่วมกัน ระหว่างครู ผู้ปกครอง และตัวนักเรียนเอง ร่วมกันหาวิธีการแก้ปัญหาร่วมกันต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โรงพยาบาลตำบลบึงมะลู องค์การบริหารส่วนตำบลบึงมะลู สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดศรีสะเกษ กองพันทหารราบที่11 หน่วยเฉพาะกิจที่ 1 ศูนย์พัฒนาเกษตรภูสิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ผู้นำหมู่บ้าน บ้านน้ำขวบ, บ้านโนนดู่และบ้านศรีลำดวน ผู้ปกครองนักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านน้ำขวบ, บ้านโนนดู่และบ้านศรีลำดวน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh