ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านท่าศิลา

รหัสโครงการ ศรร.1313-074 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.28 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การปลูกผักในแปลงซีเมนต์

เตรียมพื้นที่ในการปลูกผักสวนครัว โดยก่อแปลงซีเมนต์เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า นำดินผสมปุ๋ยคอก เพื่อให้ภายในแปลงมีธาตุอาหาร รดน้ำดินให้ชุ่มแล้วนำเมล็ดพันธุ์ผักที่เลือกไว้หยอดให้เป๋นแถวรดน้ำเช้าเยิ็น เมื่อได้ผลผลิตนำไปขายให้สหกรณ์นักเรียนเพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวัน

โรงเรียนจะจัดให้มีการปลูกผักเพิ่มเติมและปลูกผักในล้อยางรถยนต์เก่าเพื่อเพิ่มผลผลิตเรื่องผักให้เพียงพอ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ด้านกิจกรรมส่งเสริมการผลิตทางการเกษตร มีการนำผลผลิตทางการเกษตร ส่งขายยังสหกรณ์และสหกรณ์นำขายต่อโครงการอาหารกลางวัน

นักเรียนรับซื้อผลิตผลทางการเกษตร แล้วส่งให้สหกรณ์ขายต่อให้กับโครงการอาหารกลางวัน

มีโครงการขยายการดำเนินงานและนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปนำขายยังสหกรณ์ในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดทำรายการอาหารโดยใช้ระบบThai School Lunch

มีการประชุมคณะครูและมอบให้โครงการอาหารกลางวันจัดทำรายการอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch เพื่อจะได้รับสารอาหารครบ 5 หมู่

1.โรงเรียนมีโครงการจัดทำอาหารมื้อเช้าให้กับนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารมาจากบ้าน 2.โรงเรียนมีโครงการผลิตวัตถุดิบในการประกอบอาหารให้เพียงพอกับความต้องการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

1.โรงเรียนมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เทอมละ 2ครั้ง 2.โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย ( Sport Day ) สัปดาห์ละ1วัน 3.จัดนักเรียน เด็กอ้วน เด็กผอม เพื่ออาหารที่แตกต่างกัน

ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงนักเรียนแล้วนำมาคำนวณในโปรแกรมและคัดกรองนักเรียนออกเป็นกลุ่ม อ้วน เตี้ยผอม ออกจากนักเรียนปกติ ติดตามภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนกลุ่มดังกล่าว โดยแยกตักอาหาร และควบคุมปริมาณอาหารของนักเรียน ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคน โดยทดสอบภาคเรียนละ 1 ครั้งแล้วนำข้อมูลมาแปรผล เพื่อหาค่าความแข็งแรงของนักเรียน

1.ติดตามนักเรียนกลุ่มที่มีภาวะทุพโภชนาการแล้วแจ้งให้นักเรียนและผู้ปกครองเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยกัน
ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนอย่างต่อเนื่องทุกปีและหาทางแก้ไขสำหรับนักเรียนที่มีสมรรถภาพที่ไม่ดี

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  1. โครงการฟันสวย ยิ้มใส โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
  2. การตรวจสุขภาพร่างกายโดยครูประจำชั้นและผู้นำอนามัยนักเรียน 3.ส่งเสริมให้นักเรียนรู้หลักสุขอนามัย

1.ให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุุกคน 2.นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง แปรงฟันอย่างถูกวิธี

ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

1.โรงเรียนมีการปรับปรุงบริบทและสภาพแวดล้อมในโรงเรียน

1.โรงเรียนมีการปรับปรุงบริบทและสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อให้มีสภาพแวดล้อมตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนรู้

โรงเรียนจะพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

1.กิจกรรมการตรวจสุขภาพของนักเรียนทุกคน

1.การตรวจสุขภาพฟันโดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมืองแก 2.การตรวจวัดสายตา 3.การตรวจสุขภาพ 4.การตรวจเลือดเพื่อแก้ปัญหาภาวะโลหิตจาง

ดำเนินการต่อเนื่องต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

มีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการ และสุขภาพอนามัย

1.โรงเรียนแบ่งกิจกรรมด้านกา รเกษตรในโรงเรียนให้นักเรียนแต่ละชั้นช่วยกันรับผิดชอบ 2.นำผลผลิตจากการจัดกิจกรรมไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน 3.สหกรณ์นักเรียนนำผลผลิตที่รับซื้อจำหน่ายต่อให้โครงการอาหารกลางวัน 4.โครงการอาหารกลางวันนำผลผลิตที่ได้ทำเป็นเมนูอาหารตามโปรแกรมThai School lunch
5. จัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนทุกคน โดยแยกปริมาณการตักให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม

โรงเรียนจะนำหลักกการ การดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสไปใช้จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

จัดทำข้าวต้มมื้อเช้าให้นักเรียน การขอบริจาคข้าวเปลือกจากผู้ปกครองปีการศึกษาละ 1ครั้ง

บัญชีการบริจาคข้าวเปลือก

1.จะจัดทำอาหารมื้อเช้าให้นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าหรือนักเรียนที่ยากจน

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

องค์กรปกครองท้องถิ่น ผู้นำชุมชน เทศบาล รพสต. ผู้นำท้องถิ่น คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนได้พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัยและน่าอยู่ดูแล อาคารสถานที่ห้องสุขาให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และสะอาดจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียน มีที่กำจัดขยะ มีการแยกขยะ มีถังขยะ ส่งเสริมและปลูกฝังให้นักเรียนทิ้งขยะให้ถูกที่

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การสร้างทีมงานโดยผู้บริหารโรงเรียนได้ประชุมคณะครูและแบ่งงานตลอดจนประชุมชี้แจงผู้ปกครองชุมชนให้รับทราบ นโยบายและยังเน้นให้มีการพัฒนาต่อเนื่องและขยายผลสู่ชุมชน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ใช้หลักบูรณาการให้ทุกๆฝ่ายปฏิบัติจริงทุกขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ทุกกิจกรรมเกี่ยวกับการดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

1.การวางแผนการผลิต 2.จัดซื้อวัตถุดิบเสริมจากชุมชน 3.ปลูกผักเพิ่มให้เพียงพอกับความต้องการของนักเรียน

1.รูปภาพ 2.เอกสารรายงานการดำเนินการ

1.ให้ผู้ปกครองปลูกผักที่ต้องการเพิ่ม
2.ปลูกผลไม้ตามฤดูกาล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ หมูหลุม

รูปภาพร

ขยายการดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนมีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

รูปภาพ

ขยายการดำเนินการต่อไปยังผู้ปกครอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีข้าวต้มมื้อเช้าให้เด็กนักเรียน

รูปภาพ

1.จะมีการจัดทำข้าวต้มที่มีส่วนประกอบที่มีอาหารครบ 5 หมู่ 2.จัดให้มีอาหารมื้อเช้าสำหรับนักเรียนที่ยากจนและไม่ได้รับประทานข้าวเช้า

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนมีการจัดให้นักเรียนบริโภคผักและผลไม้

การจัดเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

โรงเรียนจะปลูกฝังให้นักเรียนรับประทานผักเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ซื้อผักจากชุมชนเพิ่มเติมจากของโรงเรียนเพื่อให้เพียงพอ

 

ปลูกผักให้มากขี้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดให้มีผักเพียงพอกับจำนวนนักเรียน

ตารางเมนูอาหารของโรงเรียน

จัดให้มีผักเพียงพอกับจำนวนนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ซื้อผลผลิตปลอดสารพิษจากชุมชน

เอกสารการจัดซื้อ

ให้ชุมชนปลูกผักเพิ่มเติมเพื่อส่งต่อยังโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

1.การจัดเมนูของThai School Lunchได้จัดตามเมนูได้สมบูรณ์

เอกสารการจัดทำตามเมนู Thai School Lunch

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการรายงานในโปรแกรม ภาวะโภชนาการ

เอกสารภาวะโภชนาการ

ทำต่อเนื่อง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/1
เตี้ย 7.58 7.58% 4.22 4.22% 1.85 1.85% 1.85 1.85% 1.84 1.84% 1.86 1.86% 1.49 1.49% 0.36 0.36% nan nan% 2.79 2.79%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.58 7.58% 13.31 13.31% 4.07 4.07% 4.07 4.07% 4.04 4.04% 4.83 4.83% 3.73 3.73% 1.43 1.43% nan nan% 7.32 7.32%
ผอม 11.21 11.21% 7.17 7.17% 4.83 4.83% 4.78 4.78% 4.44 4.44% 5.58 5.58% 2.24 2.24% 4.66 4.66% 4.85 4.85% 6.27 6.27%
ผอม+ค่อนข้างผอม 19.39 19.39% 12.70 12.70% 14.13 14.13% 13.97 13.97% 11.11 11.11% 13.75 13.75% 10.07 10.07% 11.11 11.11% 10.82 10.82% 14.98 14.98%
อ้วน 0.00 0.00% 4.89 4.89% 3.72 3.72% 3.68 3.68% 3.70 3.70% 3.72 3.72% 3.73 3.73% 3.58 3.58% 3.73 3.73% 4.88 4.88%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.18% 8.18% 10.42% 10.42% 7.06% 7.06% 6.99% 6.99% 7.41% 7.41% 8.92% 8.92% 9.33% 9.33% 8.60% 8.60% 8.58% 8.58% 10.45% 10.45%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

1.การควบคุมอาหารทำได้เฉพาะอยู่ที่โรงเรียนส่วนเมื่อนักเรียนอยู่ที่บ้านควบคุมไม่ได้ 2.นักเรียนบางคนเกิดจากพันธุกรรม

แบบบันทึกภาวะโภชนาการ

จัดอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง นักเรียนที่มีภาวะอ้วนหรือเริ่มอ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

นักเรียนได้รับการบริโภคอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนโดยการแยกเด็กอ้วน เด็กผอม

แบบบันทึกภาวะโภชนาการ

จัดดูแลเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ โดยการเพิ่มปริมาณอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

นักเรียนได้รับการบริโภคอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน

แบบบันทึกภาวะโภชนาการ

ดูแลนักเรียนให้ได้รับสารอาหารครบ 5หมู่ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. โครงการอาหารเสริมนม บริโภคนม 2.กิจกรรมการออกกำลังกาย

บันทึกการดื่มนม

ทำต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

แจ้งไปยังผู้ปกครองร่วมแก้ปัญหาว่าบุตรหลานอยู่ในภาวะโภชาการ

1.บันทึกข้อประชุม 2.ภาพถ่าย

จัดประชุมให้ผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการทราบและร่วมแก้ปัญหา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

การขอบริจาคข้าวเปลือก ปีละ1ครั้งเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

องค์กรปกครองท้องถิ่น ผู้นำชุมชน เทศบาล รพสต. ผู้นำท้องถิ่น คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh