ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)

รหัสโครงการ ศรร.1313-090 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.44 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเลี้ยงไก่ไข่

เลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 140 ตัว ในระบบเปิดไม่ขังกรง มูลไก่เป็นอาหารปลา

เพิ่มจำนวนไก่ให้เป็น 200ตัว
โดยใช้งบประมาณจากการจำหน่ายไข่ไก่

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

หนึ่งห้องเรียนหนึ่งอาชีพ

ให้แต่ละชั้นเรียนจัดทำขนม หรือแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรมมาจำหน่ายที่สหกรณ์นักเรียน

เพิ่มการแปรรูปที่หลากหลาย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch

มีเมนูอาหารเป็นรายสัปดาห์ได้คุณค่าอาหารตรงตามหลักโภชนาการ

อยากเพิ่มเมนูอาหารที่หลากหลาย มีคุณภาพ และเหมาะสมกับท้องถิ่น และนำผัก ผลไม้จากชุมชนมาสู่การประกอบอาหารชุมชนเป็นแหล่งผลิตที่ได้มาตรฐาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ส่งเสริมสุขภาพดีชีวีมีสุข

ให้นักเรียนทุุกคนออกกำลังกายทุกวันหลังเลิกเรียนอย่างน้อย 30 นาที โดยแบ่งเป็นระดับดังนี้ อนุบาล 10 นาที ประถม 20 นาที มัธยมต้น 30 นาที

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมเบรนยิมพัฒนาสมองก่อนเรียน

ทุกเช้าหลังเคารพธงให้นักเรียนฝึกกิจกรรมเบรนยิน 15นาทีและกิจกรรมกำกับสติผ่านงานประดิษฐ์ 20 นาที

ดำเนินการมาแล้ว 5 ปี และจะดำเนินการต่อไป เพราะนักเรียนมีสมาธิอดทนรู้จักรอคอย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

จัดแหล่งเรียนรู้สู่การบริโภค

มีป้ายนิเทศ ป้ายความรู้ เกี่ยวกับการบริโภค จัดระเบียบการรับประทานอาหารของนักเรียน ดูแลความสะอาดห้องครัว ที่รับประทานอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ

จัดพื้นที่รับประทานอาหารให้เพียงพอกับนักเรียน โดยขอรับการสนับสนุนจากชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

พี่ช่วยน้อง

นักศึกษาวิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธรได้มาให้ความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายสุขภาพฟัน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

เพิ่มเครือข่ายพี่ช่วยน้อง เช่นมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

บูรณาการทุกกลุ่มสาระกับเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ทุกวันศุกร์ตอนบ่ายแต่ละช่วงชั้นจะจัดกิจกรรมบูรณาการทุกกลุ่มสาระกับเกษตรสหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย และหลักปรัญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นำนักเรียนไปเรียนรู้นอกสถานที่ที่เกียวข้องกับเนื้อหา

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

ให้ความรู้อบรมพัฒนาแกนนำชุมชน ให้มีแหล่งผลิตพืชผักอินทรีย์ที่ได้มาตรฐาน เพื่อสู่สหกรณ์นักเรียน

ให้มีผลผลิตเกษตรอินทรีย์สู่ชุมชนและตลาดสาธารณะ

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

มีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่หลากหลาย เช่น อบต.คูเมืองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูเมือง วิทาลัยสาธารณสุขสิรินธรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานีชุมชนบ้านคูเมือง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ชุมชนเข้มแข็ง ผู้ปกครองให้ความร่วมมือดีมีภาคีเรือข่ายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

มีการทำงานเป็นทีม เข้าใจกิจกรรมและกระบวนการของโครงการมีเป้าหมาย ผู้นำเข้มแข็ง

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูนักเรียนแม่ครัว ร่วมประกอบอาหารกลางในแต่ละมื้อ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

มีผู้ปกครองมาร่วมประกอบอาหารในบางครัว มีผักผลไม้ จากชุมชน เพื่อประกอบอาหารผ่่านระบบสหกรณ์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

เนื่องจากพื้นที่โรงเรียนมีจำกัดการผลิตดผักและผลไม้ในโรงเรียนจึงไม่เพียงพอ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 140ตัวออกไข่วันละ125ฟอง เพียงพอในการประกอบอาหารกลางวัน และบางวันขายผ่านสหกรณ์นักเรียนให้ครู

ไก่ไข่ 140ตัว

แปรรูปไก่ไข่ให้น่ารับประทาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกจำนวน 955ตัว

มีปลาดุกเป็นอาหารโปรตีน

แปรรูปผลผลิตปลาดุกจำหน่ายที่สหกรณ์นักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดผักผลไม้ในเมนูอาหารกลางวันทุกวัน

เมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ประกอบอาหารที่มีผักในอาหารกลางวัน

เมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ประกอบอาหารที่มีผักในอาหารกลางวัน

เมนูอาหารภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีเครือข่ายชุมชนปลูกผักปลอดสารจำหน่ายให้โรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

ชุมชนบ้านคูเมือง

เพิ่ิมจำนวนผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดเมนูอาหารทุกวันมีปัญหาในเรื่องสำรับท้องถิ่น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2ครั้ง รวมปีละ 4ครั้ง

ภาพประกอบ

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/2
เตี้ย 10.98 10.98% 9.54 9.54% 10.00 10.00% 9.18 9.18% 12.52 12.52% 7.61 7.61% 7.82 7.82% 6.93 6.93% 9.93 9.93% 9.57 9.57% 7.58 7.58% 5.77 5.77% 9.32 9.32% 6.98 6.98% 5.82 5.82% 6.84 6.84% 7.07 7.07% 6.03 6.03% 6.03 6.03% 5.41 5.41% 7.37 7.37% 5.67 5.67%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.98 10.98% 9.54 9.54% 10.00 10.00% 9.34 9.34% 12.52 12.52% 7.61 7.61% 7.82 7.82% 6.93 6.93% 11.37 11.37% 10.47 10.47% 9.57 9.57% 6.67 6.67% 11.65 11.65% 8.53 8.53% 7.23 7.23% 9.66 9.66% 9.77 9.77% 8.52 8.52% 8.11 8.11% 7.69 7.69% 9.89 9.89% 8.61 8.61%
ผอม 16.39 16.39% 14.10 14.10% 11.97 11.97% 13.63 13.63% 17.09 17.09% 14.00 14.00% 9.95 9.95% 9.41 9.41% 12.27 12.27% 8.30 8.30% 7.54 7.54% 5.21 5.21% 14.73 14.73% 11.63 11.63% 8.87 8.87% 7.85 7.85% 9.60 9.60% 7.48 7.48% 6.90 6.90% 6.44 6.44% 8.61 8.61% 6.93 6.93%
ผอม+ค่อนข้างผอม 16.39 16.39% 14.10 14.10% 11.97 11.97% 16.09 16.09% 18.78 18.78% 14.00 14.00% 11.72 11.72% 9.77 9.77% 14.08 14.08% 10.47 10.47% 9.16 9.16% 6.10 6.10% 16.86 16.86% 12.98 12.98% 9.07 9.07% 9.46 9.46% 12.11 12.11% 9.15 9.15% 9.41 9.41% 8.52 8.52% 11.76 11.76% 9.45 9.45%
อ้วน 6.23 6.23% 9.51 9.51% 13.11 13.11% 9.69 9.69% 12.69 12.69% 12.15 12.15% 13.68 13.68% 9.95 9.95% 9.39 9.39% 9.57 9.57% 7.36 7.36% 6.10 6.10% 9.11 9.11% 7.75 7.75% 11.69 11.69% 9.05 9.05% 10.65 10.65% 8.73 8.73% 8.79 8.79% 8.11 8.11% 9.87 9.87% 7.35 7.35%
เริ่มอ้วน+อ้วน 16.39% 16.39% 12.13% 12.13% 13.11% 13.11% 11.99% 11.99% 15.06% 15.06% 12.34% 12.34% 14.03% 14.03% 9.95% 9.95% 12.27% 12.27% 11.01% 11.01% 8.80% 8.80% 8.08% 8.08% 12.60% 12.60% 10.66% 10.66% 14.52% 14.52% 10.06% 10.06% 12.73% 12.73% 11.02% 11.02% 11.30% 11.30% 10.81% 10.81% 12.61% 12.61% 10.29% 10.29%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง อ้วนปีการศึกษา 2559ภาคเรียนที่ 2/1 ร้อยละ 16.55 ภาคเรียนที่ 2/2 ร้อยละ 8.54เป็นต้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ภาวะค่อยข้างผองและผอมลดลง ผอม ปีการศึกษา 2559 ภาคเรียนที่ 2/1 ร้อยละ 1.07ภาคเรียนที่ 2/2 ร้อยละ 0.53

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง เตี้ย ปีการศึกษา 2559 ภาคเรียนที่ 2/1 ร้อยละ 2.13ภาคเรียนที่ 2/2 ร้อยละ 0.36

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ให้เด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนอ้วน ส่งเสริมการออกกำลังกาย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการออกเยี่ยมบ้านพูดคุยกับผู้ปกครอง ในเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัย การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

มีภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือที่หลากหลาย เช่น อบต.คูเมืองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูเมือง วิทาลัยสาธารณสุขสิรินธรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานีชุมชนบ้านคูเมือง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh