ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านขะยูง

รหัสโครงการ ศรร.1311-084 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.38 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเพาะเห็ดในแท๊งค์น้ำดื่มที่ไม่ใช้แล้ว การเลี้ยงปลาดุกในแท๊งค์น้ำด้ื่มที่ไม่ใช่แล้ว การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ การปลูกกล้วยน้ำว้า

-ใช้แท๊งค์น้ำที่ไม่ใช้มาดัดแปลงเป็นโรงเรือนเพาะเห็ด จำนวน ๓ แท๊งค์ ใช้แท็งน้ำที่ไม่ใช้มาดัดแปลงเป็นบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน ๒ แท๊งค์ -ใช้วัสดุที่มีในท้องถิ่นเช่นปุ๋ยคอก เศษใบไม้ เศษอาหารมาทำปุ๋ยหมักชีวภาพแล้วนำปุ๋ยหมักไปใช้ในงานเกษตร -กิจกรรมการปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์เพื่อควบคุมการออกผลของมะนาว -กิจกรรมการปลูกกล้วยน้ำว้าเพื่อใช้ในอาหารเสริม"นม 1 ถ้วย กล้วย 1ใบ ไข่ 1 ฟอง"

นำมาจัดการเรียนการสอนในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และนำผลผลิตมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

จำหน่ายผลผลิตด้านการเกษตรของโรงเรียนผ่านสหกรณ์และนำมาใช้ในการทำอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

สหกรณ์ได้รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากโรงเรียนแล้วนำมาจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

ขยายผลกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าแก่ชุมชนและโรงเรียนในตำบลปราสาท

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

ใช้โปรแกรมThai school lunch

การจัดทำรายการอาหารใช้โปรแกรมThai school lunch โดยเน้นคุณค่าของสารอาหารเป็นสำคัญ

จัดรายการอาหารให้เหมาะสมกับแหล่งอาหารที่มีในท้องถิ่นเพื่อคัดเลือกอาหารปลอดภัยและประหยัด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

เครื่องมือวัดส่วนสูงมีมาตรฐานละเอียด และเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล

1.วัดส่วนสูง/ชั่งนำ้หนักนักเรียน 2. เตรียมกับเกณฑ์มาตรฐาน 3.แยกนักเรียน กลุ่ม ผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วน 4. จัดทำอาหารให้ตรงกับภาวะโภชนาการ เช่นผอม/ค่อนข้างผอม เพิ่มปริมาณสารอาหาร 5. จัดทำคูปอง เด็กผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วน ุ6. นักเรียน เด็กผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วนรับคูปองไปรับประทานอาหารกลางวัน

ควบคุมอาหารสำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมล้างมือแปรงฟันก่อนและหลังรับประทานอาหาร

นักเรียนล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร โดยใช้วิธี7ขั้นตอน นักเรียนแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร โดยแปรงฟันประกอบเพลง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรมตรวจสุขภาพ ปาก ฟันและเหา

โรงเรียนมีการตรวจสุขภาพโดยสาธารณะสุข อำเภอปีละ1ครั้ง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

มีศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

วางแผนปรับหลักสูตรสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

จัดทำป้ายนิทรรศการเรื่องการเกษตรเชื่อมโยงสู่หลักปรัช ญาเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมป้ายนิทรรศการเรื่องการเกษตร

จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ศูนย์อนามันที่10 อุบลราชธานี เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง/จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเด็กไทยแก้มใส สส.จ.ศรีสะกษ/สสอ.ห้วยทับทัน ออกเยี่ยมเยียนให้กำลังใจ/คอยอำนวยความสะดวกเพื่อให้งานบรรลุความสำเร็จ รพ.สต.บ้านปราสาทเป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านขะยูงร่วมเป็นคณะทำงานสนับสนุนพันธ์ไม้เป็นที่ปรึกษา / พี่เลี้ยง /ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผัก อบต.ปราสาทเป็นที่ปรึกษา เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ร่วมเป็นคณะทำงานสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ปลูกผักปลอดสารพิษเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนได้พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาด ปลอดภัยสวยงาม จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเช่น น้ำดื่มที่สะอาด / ที่ล้างมือ / ห้องส้วม / การจัดการขยะ แมลง สัตว์นำโรค อย่างสะอาดและปลอดภัย โดยได้รับความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษสำหรับโครงการอาหารกลางวันจากเดิมที่มีอยู่ในโรงเเรียนสู่ชุมชน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

 

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

1.การนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง โดยการเชิญผู้ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย คณะครู นักเรียนและแม่ครัว ประชุมเพื่อรับทราบข้อมูลและกิจกรรม ที่โรงเรียนจะดำเนินงานร่วมกัน ตลอดจนให้แสดงความคิดเห็นด้านต่างๆที่จะพัฒนาร่วมกัน 2.การรับฟังข้อความคิดเห็น นำข้อเสนอแนะความคิดเห็นเป็นแนวทางปรับปรุงนโยบาย การตัดสินใจ และการพัฒนาวิธีการปฏิบัติงาน เน้นการคิดของสมาชิกเป็นวิธีคิดเชิงกระบวนการระบบ (System Thinking) หมายถึง เข้าใจระบบและนำองค์ประกอบของระบบต่าง ๆ มาเชื่อมปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 3 สร้างความเข้าใจโครงสร้างที่ทับซ้อนกันอยู่ กล่าวคือ โครงสร้างเชิงสภาวะแวดล้อม โครงสร้างขององค์กร และโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การรับฟังความคิดเห็นอย่างลึกซึ้งและคิดอย่างเป็นระบบของเครือข่ายช่วยให้สามารถหลอมรวมความคิดมากำหนดเป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนได้เป็นอย่างดี หาแนวทางในการทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ คณะทำงานกำหนดกิจกรรมในการปฏิบัติร่วมกันประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้ การบริหารงานคณะครู นักเรียนและแม่ครัวมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างเต็มความรู้ความสามารถ เป้าหมายหลัก คือ นักเรียนมีบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ร่วมกัน เมื่อมีความสำเร็จ ร่วมชื่นชม มีกำลังใจที่จะพัฒนาให้ก้าวต่อไปให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่องค์กรอื่นได้เป็นอย่างดี

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชนซึ่งโรงเรียนบ้านขะยูงเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การประชุมระดมความคิดเพื่อขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส /จัดอบรมเพื่อให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ผู้ปกครองและชุมชน /เชิญชวนผู้ปกครอง ชุมชนมาช่วยปรับภูมิทัศน์เพื่อให้เหมาะกับเป็นศูนย์การเรียนรู้ /เชิญผู้ปกครองและคนในชุมชนมาเป็นวิทยากรเรื่องการปลูกผัก การทำปุ๋ยชีวภาพการทำน้ำยาล้างจาน ฯลฯ / ครูออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภค ครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครอง นักเรียนกลุ่มเสี่ยง / ซึ่งเชิญชวนให้คนในครอบครัวร่วมกันปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างดียิ่ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

นำผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียนและสหกรณ์นักเรียนไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

เอกสารบัญชีการรับขจ่าย/รูปภาพสถานที่ทำกิจกรรม

ส่งเสริมและขอความร่วมมือจากผู้ปกครองชุมชนขยายผลต่อครัวเรือนและชุมชนสู่ความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

นำผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียนและสหกรณ์นักเรียนไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

เอกสารบัญชีการรับขจ่าย/รูปภาพสถานที่ทำกิจกรรม

ส่งเสริมและขอความร่วมมือจากผู้ปกครองชุมชนขยายผลต่อครัวเรือนและชุมชนสู่ความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

นำผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียนและสหกรณ์นักเรียนไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

เอกสารบัญชีการรับขจ่าย/รูปภาพสถานที่ทำกิจกรรม

ส่งเสริมและขอความร่วมมือจากผู้ปกครองชุมชนขยายผลต่อครัวเรือนและชุมชนสู่ความยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/22562 2/12562 2/2
เตี้ย 5.66 5.66% 4.59 4.59% 1.90 1.90% 0.95 0.95% 2.11 2.11% 3.16 3.16% 2.11 2.11% 3.23 3.23% 4.30 4.30% 3.23 3.23% 4.35 4.35% 4.35 4.35% 1.06 1.06% 3.19 3.19% 0.00 0.00% 1.08 1.08% 1.18 1.18% 4.71 4.71% 3.53 3.53%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.38 10.38% 11.01 11.01% 6.67 6.67% 3.81 3.81% 5.26 5.26% 6.32 6.32% 9.47 9.47% 7.53 7.53% 11.83 11.83% 13.98 13.98% 13.04 13.04% 13.04 13.04% 7.45 7.45% 9.57 9.57% 4.35 4.35% 3.23 3.23% 4.71 4.71% 8.24 8.24% 5.88 5.88%
ผอม 5.66 5.66% 2.75 2.75% 0.95 0.95% 3.81 3.81% 1.03 1.03% 0.00 0.00% 2.11 2.11% 3.23 3.23% 4.30 4.30% 2.15 2.15% 2.17 2.17% 3.26 3.26% 3.49 3.49% 2.13 2.13% 3.26 3.26% 4.40 4.40% 3.53 3.53% 2.35 2.35% 2.35 2.35%
ผอม+ค่อนข้างผอม 10.38 10.38% 8.26 8.26% 2.86 2.86% 4.76 4.76% 5.15 5.15% 5.26 5.26% 5.26 5.26% 7.53 7.53% 7.53 7.53% 6.45 6.45% 6.52 6.52% 4.35 4.35% 4.65 4.65% 3.19 3.19% 6.52 6.52% 8.79 8.79% 12.94 12.94% 3.53 3.53% 4.71 4.71%
อ้วน 2.83 2.83% 2.75 2.75% 3.81 3.81% 2.86 2.86% 3.09 3.09% 4.21 4.21% 4.21 4.21% 4.30 4.30% 6.45 6.45% 5.38 5.38% 6.52 6.52% 5.43 5.43% 5.81 5.81% 6.38 6.38% 5.43 5.43% 5.49 5.49% 5.88 5.88% 11.76 11.76% 10.59 10.59%
เริ่มอ้วน+อ้วน 4.72% 4.72% 4.59% 4.59% 3.81% 3.81% 4.76% 4.76% 6.19% 6.19% 5.26% 5.26% 5.26% 5.26% 7.53% 7.53% 10.75% 10.75% 9.68% 9.68% 9.78% 9.78% 10.87% 10.87% 11.63% 11.63% 12.77% 12.77% 13.04% 13.04% 10.99% 10.99% 12.94% 12.94% 21.18% 21.18% 20.00% 20.00%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ศูนย์อนามันที่10 อุบลราชธานี เป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง/จัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเด็กไทยแก้มใส สส.จ.ศรีสะกษ/สสอ.ห้วยทับทัน ออกเยี่ยมเยียนให้กำลังใจ/คอยอำนวยความสะดวกเพื่อให้งานบรรลุความสำเร็จ รพ.สต.บ้านปราสาทเป็นที่ปรึกษา/พี่เลี้ยง คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านขะยูงร่วมเป็นคณะทำงานสนับสนุนพันธ์ไม้เป็นที่ปรึกษา / พี่เลี้ยง /ให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผัก อบต.ปราสาทเป็นที่ปรึกษา เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน ร่วมเป็นคณะทำงานสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ปลูกผักปลอดสารพิษเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh