แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียน |
||||||
2 | มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการฝึกฝนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ร้อยละ 80 |
||||||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100 |
||||||
4 | เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเองจนเป็นกิจนิสัย ร้อยละ 90 |
||||||
5 | เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน ตัวชี้วัด : นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน ร้อยละ 100 |
||||||
6 | เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย ตัวชี้วัด : นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย ร้อยละ 90 |
||||||
7 | เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน ร้อยละ 100 |