แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ

ชุมชน 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

รหัสโครงการ ศรร.1313-056 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การบริหารร่างกายนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและการบริโภคอาหาร

วันที่ 7 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • นักเรียนร้อยละ 100ได้รับการคัดกรอง และร่วมกิจกรรม ส่งเสริมสมรรถภาพทางการและการแก้ปัญหาภาวะภาวะโภชนาการ
  • นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ลดลง อย่างน้อยร้อยละ 10
    • นักเรียนร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D.ขึ้นไป

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เด็กนักเรียน 6 -  12 ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 90
  2. เด็กนักเรียน 6 -  12 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์  คิดเป็นร้อยละ 80
  3. เด็กนักเรียน 6 -  12 ปี ปีมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม  คิดเป็นร้อยละ 85
  4. เด็กนักเรียน 6 -  12 ปีปีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  5. ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการ เด็กนักเรียน 6 -  12 ปี ุ6.เด็กนักเรียนที่ได้รับการอบรมใส่ใจ การออกกำลังกายมากขึ้นและปฏิบัติเป็นประจำ ทุกวันคิดเป็นร้อยละ 90

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การบริหารร่างกายนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและการบริโภคอาหาร - คัดกรองนักเรียนทั้งโรงเรียน - ค่าวิทยากร 2 คน x 400 บาท  รวม  800  บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  150 คน x 20 บาท  รวม  3000 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม  200  บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. กำหนดนโยบายและกิจกรรม
  2. จัดทำโครงการและชี้แจงโครง
  3. จัดกิจกรรมอบรบให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กนักเรียน 6 - 12 ปี
    4.จัดอบรมผู้ปกครอง เด็กนักเรียน 6 - 12 ปี เมื่อวันที่ 7-8  มิถุนายน  2559 จำนวน 140  คน
  4. ทำการงานชั่งน้ำหนักเด็กนักเรียน ร่วมกับครูกับนักเรียน ทุกเดือน 3 เดือน
  5. ติดตามชั่งน้ำหนักเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่บ้าน และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพ ฯ
  6. ติดตามเฝ้าระวังในเด็กที่ตกเกณฑ์มาตรฐานของภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน 6 - 12 ปี  (ตามกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กนักเรียน 6 -  12 ปี  กรมอนามัย) 8.จัดกิจกรรมการออกกำลังกายสำหรับเด็กนักเรียน 6 -  12 ปี  ทุกวัน
  7. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 10.รายงานผลการดำเนินงาน

 

167 180

2. จัดอบรม ตัวแทนนักเรียนแกน อย.น้อย

วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 น. - 16.30 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    -จัดรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือนตาม มาตรฐานโภชนาการ (ใช้Thai School  Lunch Progam) - ตัวแทนนักเรียน อย.น้อยตรวจคุณภาพอาหารโดยอย่างน้อยภาคเรียนและ 1 ครั้ง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  ผลที่เกิดขึ้น 1. นักเรียนแกนนำได้รับความรู้จากวิทยากรที่มีความชำนาญโดยตรง เกี่ยวกับหัวข้อดังต่อไปนี้     - การรับประทานอาหาร ครบ 5 หมู่     - ธงโภชนาการ     - ทันตสุขภาพ     - การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร     - การล้างมือ     - การเลือกซื้ออาหารตามฉลากสินค้า     - โรคเกี่ยวกับพยาธิใบไม้ในตับ     - สารเสพติด 2. นักเรียนแกนนำอย.น้อยของโรงเรียนได้เป็นตัวแทนโรงเรียน นำความรู้ที่ได้ไปขยายผลต่อให้กับนักเรียนในห้องเรียน และโรงเรียน  รวมถึงเป็นตัวแทนในสภานักเรียน เพื่อดำเนินกิจกรรมอย.น้อย     ในโรงเรียนทั้งปีการศึกษา  2559

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดอบรม ตัวแทนนักเรียนแกนนำ อย.น้อย - ค่าวิทยากร 2 คน x 350  บาท  รวม  700  บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  50 คน x  20  บาท  รวม 1,000  บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ติอต่อประสานงานกับ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.จำปาดง  , รพ.อำเภอวานรนิวาส
  2. จัดเตรียมสถานที่/บุคลากร
  3. ลงทะเบียน
  4. กล่าวเปิดการอบรม
  5. ดำเนินการตามกระบวนการของวิทยากร
  6. กล่าวปิดการอบรม

 

52 109

3. จัดอบรมกิจกรรมหนูน้อยฟันดี

วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  - นักเรียนร้อยละ 100
ได้รับการตรวจสุขภาพนักเรียนและนักเรียนที่เจ็บป่วยการดูช่วยเหลือเบื้องต้น   - นักเรียนที่ตรวจพบความผิดปกติของสายตาการรับรู้และการได้ยินได้รับการดูแล ส่งตอรักษา   - ร้อยละของนักเรียน ที่เป็นโรคฟันผุลดลง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านกุดเรือคำ ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่  6
    จำนวน  663 คน  ปฏิบัติกิจกรรมแปรงฟันทุกวันคิดเป็นร้อยละ 90% 2.สอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีคิดเป็นร้อยละ 90%
  2. ปฏิบัติกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารตอนเที่ยงทุกวันคิดเป็นร้อยละ 90% 4.  เด็กนักเรียนประถมมีความรู้ ความสามารถและทักษะในการดูแลสุขภาพฟันช่องปากร้อยละ 90%
  3. เด็กก่อนวัยเรียน,เด็กนักเรียนแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 90%
  4. สุขภาพในช่องปากของเด็กดีร้อยละ 90%

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดอบรมกิจกรรมหนูน้อยฟันดี - ค่าตอบแทนวิทยากร  2 คน x 400 บาท  คนละ 800 บาทรวม 2คิดเป็น 1600 บาท - ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  60 คน x 50 บาท  รวม 3000  บาท - ค่าอุปกรณ์ในการจัดอบรม  700 บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

5.1เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 5.2ประชุมคณะครูและผู้รับผิดชอบโครงการ 5.3ประสานงาน วิทยากรผู้ฝึกสอน และผู้เข้าร่วมโครงการ 5.5ดำเนินโครงการกำหนด 5.5 สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 6.ระยะเวลาการดำเนินงาน -อบรมแปลงฟัน วันอังคาร ที่ 14 มิถุนายน 2559 - เดือน 16พฤษภาคม 2559 – 15 มีนาคม 2560หลังรับประทานอาหารตอนเที่ยงทุกวัน - สรุปและประเมินผล 18 – 20มีนาคม2560

 

66 687

4. ประชุมสัมมนาครู ผู้ปกครอง และชุมชนเกี่ยวกับเมนู Thai school Lunch

วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 08.30 - 16.30 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    -จัดรายการอาหารหมุนเวียน 1 เดือนตาม มาตรฐานโภชนาการ (ใช้Thai School  Lunch Progam) - ตัวแทนนักเรียน อย.น้อยตรวจคุณภาพอาหารโดยอย่างน้อยภาคเรียนและ 1 ครั้ง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนได้เรียนรู้หลักการจัดโภชนาการในโรงเรียน
  2. นักเรียนสามารถพัฒนาสุขนิสัย และมีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยได้อย่างถูกต้อง
  3. ผู้เข้าร่วมการอบรมมีทักษะในการใช้โปรแกรม Thai School Lunch
  4. ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปขยายผลให้กับเครือข่ายในโรงเรียนได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดประชุมสัมมนา ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เกี่ยวกับเมนูอาหาร Thai school Lunch - ค่าวิทยากร 2 คน x 400 บาท รวม  800 บาท - ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  150 คน x 50 บาท  รวม  7,500  บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และกลุ่มเครือข่ายลงทะเบียน
  2. พิธีเปิดงาน  โดยผู้อำนวยการโรงเรียน     - กล่าวความเป็นมาของโครงการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ระบบออนไลน์ (Thai School Lunch )
  3. พัก/รับประทานอาหารว่าง
  4. หลักการจัดโภชนาการในโรงเรียน
  5. พักรับประทานอาหารกลางวัน
  6. การพัฒนาสุขนิสัย  และการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  7. พัก/รับประทานอาหารว่าง
  8. ฝึกปฏิบัติการโช้โปรแกรม Thai School Lunch

 

187 150

5. กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ

วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 เวลา 07:00-16.30 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • นักเรียนร้อยละ 100ได้รับการคัดกรอง และร่วมกิจกรรม ส่งเสริมสมรรถภาพทางการและการแก้ปัญหาภาวะภาวะโภชนาการ
  • นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ลดลง อย่างน้อยร้อยละ 10
    • นักเรียนร้อยละ 80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D.ขึ้นไป

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมการอบรมกีฬาและนันทนาการภายในโรงเรียน - นักเรียนจำนวน  657  คน ได้ร่วมกิจกรรมกีฬาร้อยละ 100 (และขยายผลนักกีฬาที่เป้นตัวแทนนักเรียนจำนวน 40 คน เข้ารับการฝึกอบรมและเข้าค่ายเตรียมความพร้อมแข่งกีฬาศูนย์เครือข่ายสถานศึกษา ) - ผู้ปกครองและเเขกผู้มีเกียรติให้การสนับสนุนและร่วมงานตามเป้าหมาย - นักกีฬามีทักษะในการเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น - นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับกระบวนการออกกำลังกาย,การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์,การทำงานเป็นทีม,การมีความสามัคคี,การรู้จักแก้ปัญหา กิจกรรมคัดนักกีฬาฟุตบอลชายเตรียมความพร้อมแข่งขันกีฬาศูนย์เครือข่าย/กีฬาเขตพื้นที่การศึกษา - นักฟุตบอลชายร่วมฝึกซ้อมจำนวน 40 คน - นักกีฬามีทักษะทางด้านกีฬาฟุตบอลดีขึ้น - นักกีฬามีความสมบูรณืทางด้านร่างกายดีขึ้น - นักกีฬารู้จักกฎกติกามารยาทในการเล่นกีฬามากขึ้น - นักกีฬารู้จักระเบียบวินัยมากขึ้น - นักกีฬามีจิตสำนึกในการเล่นกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ 1. จัดอบรมกิจกรรมแข่งขันกีฬานักเรียน กำหนดเวลา 1 วัน - ค่าตอบแทนวิทยากร  2 คน  คนละ 400  รวม 1 วัน  รวม  800 บาท - ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่าง 1 วัน ( เหมาจ่าย )  รวม 200 บาท 2. กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน ) - ค่าตอบแทนวิทยากร  2 คน  คนละ 400 x 5 วัน  รวม  4,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน  5 วัน ( เหมาจ่าย )  รวม 5,000 บาท -ค่าอาหารว่าง  5 วัน  ( เหมาจ่าย )  รวม 2500 บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

การจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ 1. วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 จัดอบรมกิจกรรมแข่งขันกีฬานักเรียน กำหนดเวลา 1 วัน   เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนรายงานตัว   เวลา 09.00 - 10.00 น. พิธีเปิดการอบรมจากผู้บริหารโรงเรียน   เวลา 10.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน   เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร - ค่าตอบแทนวิทยากร  2 คน  คนละ 400  รวม 1 วัน  รวม  800 บาท - ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่าง 1 วัน ( เหมาจ่าย )  รวม 200 บาท 2. วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน )   เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนรายงานตัว   เวลา 09.00 - 09.30 น. พิธีเปิดการเข้าค่ายจากผู้บริหารโรงเรียน   เวลา 09.30 - 10.45 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 10.45 - 11.00 น. พักอาหารว่าง   เวลา 11.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน   เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร 3. วันที่ 16,17,23,24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน )   เวลา 08.00 - 09.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 09.30 - 10.45 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 10.45 - 11.00 น. พักอาหารว่าง   เวลา 11.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน   เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร   เวลา 16.00 น. พิธีปิดการเข้าค่ายโดยผู้บริหาร - ค่าตอบแทนวิทยากร  2 คน  คนละ 400 x 5 วัน  รวม  4,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน  5 วัน ( เหมาจ่าย )  รวม 5,000 บาท -ค่าอาหารว่าง  5 วัน  ( เหมาจ่าย )  รวม 2500 บาท

 

930 475

6. ศึกษาแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่ดำ

วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    - นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านการเกษตรตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก     - นักเรียนและ  บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
- ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครอง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. นักเรียนกลุ่่มเป้าหมายได้ประสบการณ์ตรงจากการฝึกปฏิบัติ
  2. ชั้นประถมศึกษาปี่ที 3 - 4  ได้รับความความรู้เพิ่มเติมนักเรียนในวิชาเกษตร สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  3. ผู้เรียนและคณะครูสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลเลี้ยงไก่ได้ทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน ตลอดจนสามารแนะนำผู้สนใจได้ 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • ศึกษาการเลี้ยงไก่ดำที่ศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงไกดำบ้านคำเจริญ
  • ค่าตอบแทนการประสานงาน  800  บาท
  • ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์โดยสาร  800  บาท
  • ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  70 คน x 20  บาท  รวม  1,400  บาท
  • ค่าเอกสาร  50 เล่ม เล่มละ 20  บาท  รวม  1,000 บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ศึกษาการเลี้ยงไก่ดำที่ศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงไกดำบ้านคำเจริญ
  2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที 3 - 4 ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ การเลี้ยงดูและการให้วัคซีนไก่ดำและไก่พันธุ์ไข่ โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ทั้งทางทฤษฎีและการสาธิตให้นักเรียนฝึกปฏิบัติ มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายจากกลุ่มอาชีพกิจกรรมลดเวลาเรียน และการให้ความรู้เพิ่มเติมนักเรียนในวิชาเกษตร สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีและมีการเลี้ยงจริง
  3. โรงเรียนได้รับการสนุบสนุนไก่ดำจากปศุสัตว์จังหวัด

 

70 181

7. ศึกษาดูงานการเลี้ยงหมู

วันที่ 6 สิงหาคม 2559 เวลา 07:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    - นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านการเกษตรตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก     - นักเรียนและ  บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
- ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครอง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นักเรียน สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการเลี้ยงหมูในโรงเรียน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงรถโดยสาร 1,000บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน75 คน x 40บาทรวม2,960บาท
  • ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 75 คน x 15บาทรวม 1,125บาท
  • ค่าถ่ายเอกสาร15บาท
  • ค่าตอบแทนการประสานงาน 500บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

นำนักเรียนเข้าศึกษา ฟาร์มเลี้ยงหมู และ รับฟังบรรยายจากปศุสัตว์จังหวัด

 

75 80

8. อบรมสัมมนาสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านระบบธนาคารโรงเรียน

วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    - นักเรียนร้อยละ70 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านสหกรณ์ตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก - นักเรียนและ  บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
- ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครอง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิตที่เกิดขึ้น 1. ธนาคารโรงเรียนมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในโรงเรียน 2. เจ้าหน้าที่ธนาคารได้รับความรู้และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระบบเก็บข้อมูลการฝากถอนเงินได้อย่างถูกต้อง ผลลัพธ์   ธนาคารโรงเรียนดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์และมีความยั้งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดอบรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านธนาคารโรงเรียน - ค่าวิทยากร 2 คน x 350 บาท  รวม  700  บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  150 คน  x 20 บาท  รวม  3000 บาท - ค่าเอกสาร  150 ชุด x 2 บาท  รวม  300  บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดอบรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านธนาคารโรงเรียน  ตามขั้นตอนดังนี้ 1. คณะครูและนักเรียนลงทะเบียน 2. ผู้อำนวยการกล่าวให้โอวาท 3. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมระบบธนาคาร     - ลงโปรแกรมในคอมพิวเตอร์     - สาธิตและฝึกปฏิบัติ การจัดทำบัญชีข้อมูล รับฝากถอนเงิน การใช้งบประมาณ     - ค่าวิทยากร 2 คน x 600 บาท  เวลาการอบรม 3 วัน  รวม  1,200  บาท     - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  สำหรับครู  30 คน  x 15 บาท  รวม  450 บาท     - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  สำหรับนักเรียน  115  คน ( เหมาจ่าย)  รวม  788 บาท     - ค่าอาหารกลางวันวิทยากร  2  คน    รวม  200  บาท     - ค่าเอกสาร    รวม  362  บาท

 

161 147

9. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำธนาคารขยะ

วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  - โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาล อนามัย สิ่งแวดล้อมโรงเรียน และมาตรฐานคุณภาพน้ำบริโภคในโรงเรียน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • การดำเนินการกิจกรรมธนาคารขยะของโรงเรียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีที่ทิ้งขยะเพื่อแยกขยะเป็นสัดส่วน สามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะกาในการแยกขยะที่ถูกต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำธนาคารขยะและการประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ/ขยะ - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน x 400 บาทรวม800บาท - ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 100 คน x 50 บาทรวม5000 บาท - ค่าวัสดุใช้ในกิจกรรมประดิษฐ์ของใช้200บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

-  จัดอบรมให้ความรู้นักเรียน เป้าหมาย  100 คน  2  วัน  โครงการจัดทำธนาคารขยะรีไซเคิล  ค่าอาหารว่าง  เช้า-บ่าย 2วัน  4มื้อ (เหม่าจ่าย) 4750  บาท -  จัดทำป้ายอบรม  450 บาท -  ค่าวิทยากรอบรม  2 วัน งบประมาณ 800  บาท

 

116 79

10. จัดอบรมสัมมนา พัฒนาบุคลากร การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพ

วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    - นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก
2. โรงเรียนจัดทำแผนบูรณาการ บูรณาการด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ 3. บุคลากรร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ 4. โรงเรียนมีสื่อและนวัตกรรมในการเรียนรู้ด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพที่สามารถขยายผลต่อผู้ปกครอง ชุมชนและเครือข่าย

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1. ได้คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้านการเกษตร  สหกรณ์  อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 เล่ม 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจในการนำกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้และทักษะด้านการเกษตร  สหกรณ์  อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร  สหกรณ์  อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดอบรมสัมมนา พัฒนาบุคลากร การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพ - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน x 400 บาท x 2 วัน  รวม  1600  บาท - ค่าตอบแทนการประสานงาน  600  บาท - ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  60 คน x 50 บาท x 2 วัน  รวม 6000 บาท - ค่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม  1000 บาท - ค่าเอกสารในการอบรม  60 เล่ม x 40 บาท  รวม  2400 บาท 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการ
  2. ดำเนินการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้านการเกษตรสหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านกุดเรือคำในวันที่ 27-28เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องประชุมอาคารใหม่โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
  3. สรุปผลการดำเนินงาน

 

85 45

11. ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์นักเรียน

วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 07:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

    - นักเรียนร้อยละ70 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านสหกรณ์ตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก - นักเรียนและ  บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
- ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครอง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสหกรณ์  ได้เป็นอย่างดีทุกคน -  นักเรียนมีความรู้และทักษะการทำบัญชีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์นักเรียน  ได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

อบรมตัวแทนนักเรียนสมาชิกสหกรณ์นักเรียน โดยครูและนักเรียนแกนนำ นำคณะกรรมการสหกรณ์ไปศึกษาดูงานระบบสหกรณ์แหล่งเรียนรู้ในชุมชน - ค่าอาการกลางวัน/อาหารว่าง 30x50 = 1500  บาท - ค่าเหมารถโดยสาร 1 คัน 1 วัน  1000  บาท - ค่าเอกสารประกอบการทำกิจกรรมสหกรณ์  30  เล่ม เล่มละ 30  บาท    รวม 900 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร    600  บาท

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดกิจกรรมวันที่9ก.ย.2559( อบรมและศึกษาดูงานนักเรียน ป.5-6จำนวน87คนคณะครูและบุคลากรจำนวน8ท่าน ) กิจกรรม1.09.00 - 12.00 น.-อบรมนักเรียนจำนวน87คน โดยครูและนักเรียนแกนนำ 2.13.30- 16.00 น. -นำนักเรียนไปทัศนศึกษาณสหกรณ์การเกษตรก.ร.ป.กลางบ้านสามแยกขันอาสา ต.คูสะคาม อ.วานรนิวาสจ. สกลนคร

 

30 96

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 25 11                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 66,500.00                  
คุณภาพกิจกรรม 44 38                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. จัดทำคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ( 10 ต.ค. 2559 - 31 ต.ค. 2559 )
  2. นโยบายการดำเนินงานร่วมกันตามโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ประชุมคณะทำงานบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น ชุมชน เขต และจังหวัด ( 20 ต.ค. 2559 - 20 มี.ค. 2560 )
  3. จัดกิจกรรมแอโรบิคตอนเช้าและกิจกรรมบาสโลปตอนบ่าย ( 31 ต.ค. 2559 - 28 ก.พ. 2560 )
  4. การรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บ ( 31 ต.ค. 2559 - 28 ก.พ. 2560 )
  5. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดการบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอ ( 31 ต.ค. 2559 - 15 มี.ค. 2560 )
  6. อบรมให้ความรู้ สัมมนา ด้านการเกษตร ( 2 พ.ย. 2559 - 4 พ.ย. 2559 )
  7. การตรวจสุขภาพนักเรียน ( 15 พ.ย. 2559 - 15 ก.พ. 2560 )
  8. การต่อยอดจากการศึกษาดูงาน นำมาปฏิบัติจริงในโรงเรียน ( 15 พ.ย. 2559 - 18 มี.ค. 2560 )
  9. ประชุมเชิงปฏิบัติการการฝึกสุขนิสัยตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ ( 9 ก.พ. 2560 )
  10. ศึกษาดูงานการเลี้ยงปลา อำเภอพังโคน ( 17 ก.พ. 2560 )

(................................)
นายเกษม ทัศวงษา
ผู้รับผิดชอบโครงการ