ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ

รหัสโครงการ ศรร.1313-056 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.10 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

สมุดบันทึกกิจกรรมลดพุง ลดอ้วน

ลักษณะ 1. เป็นสมุดที่นักเรียนได้เรียนรู้พฤติกรรมการบริโภค 2. เป็นสมุดที่ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการวางแผน, เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและประเมินตนเอง ขั้นตอน 1. คัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2. ประชุม อบรมนักเรียนและผู้ปกครองเพื่อสร้างความเข้าใจในโครงการ 3. จัดกิจกรรมลดพุง ลดอ้วน โดยมีกิจกรรมออกกำลังกายเวลา 15.00 น ทุกวัน 4. นักเรียนบันทึกการพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายทุกวัน โดยผู้ปกครองให้ความร่มมือและสนับสนุน 5. นักเรียน ครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้ปกครองร่วมกันสรุปและต่อยอด หลักฐาน 1. สมุดบันทึกกิจกรรมลดพุง ลดอ้วน 2. น้ำหนักส่วนสูงของนักเรียน

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. หน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ โรงเรียยนบ้านกุดเรือคำ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ(สสส.)และเทศบาลตำบลกุดเรือคำ
  2. หน่วยงานที่สนับสุนแหล่งเรียนรู้/วิทยากร ได้แก่ โรงพยาบาลวานรนิวาส โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำปาดง วัดกุดเรือคำ ผู้นำชุมชนบ้านกุดเรือคำ กลุ่มอาชีพในชุมชน ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ พระนางเจ้าสิริกิติ์ จังหวัดสกลนครและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. โรงเรียนมีพื้นที่เอื้อต่อการจัดการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
  2. โรงเรียนจัดโรงอาหารและโรงครัวที่ถูกสุขบัญญัติและโภชนาการ
  3. โรงเรียนมีสนามกีฬาและสนามเด็กเล่นที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
  4. โรงเรียนมีสหกรณ์โรงเรียนและธนาคารโรงเรียนที่เป็นเอกเทศ
  5. โรงเรียนมีห้องพยาบาลที่สะอาด ปลอดภัย เพียงพอต่อการใช้บริการ
  6. โรงเรียนมีที่ดื่มน้ำ อ่างล้างมือ ที่แปรงฟัน เพียงพอต่อการใช้งาน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

“กุดเรือคำ Model T5 ”5 ขั้นตอน คือ
T1 = To Inform การนำเสนอข้อมูลที่เป็นจริง ถูกต้อง ทันสมัย
T2 = To Consult การรับฟังข้อความคิดเห็น นำข้อเสนอแนะความคิดเห็นเป็นแนวทางปรับปรุงนโยบาย การตัดสินใจ และการพัฒนาวิธีการปฏิบัติงาน
T3 = To Involve การมีส่วนร่วมหรือเกี่ยวข้องในการกระบวนการกำหนดนโยบาย วางแผนโครงการ และวิธีการทำงาน
T4 = To Collaborate การเข้ามามีส่วนร่วมในบทบาทหุ้นส่วน หรือภาคีในการดำเนินงาน
T5 = To Empower มีบทบาทเต็มในการตัดสินใจการบริหารโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. การนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง โดยการเชิญผู้ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย คณะครู นักเรียนและแม่ครัว ประชุมเพื่อรับทราบข้อมูลและกิจกรรม ที่โรงเรียนจะดำเนินงานร่วมกัน ตลอดจนให้แสดงความคิดเห็นด้านต่างๆที่จะพัฒนาร่วมกัน
  2. การรับฟังข้อความคิดเห็น นำข้อเสนอแนะความคิดเห็นเป็นแนวทางปรับปรุงนโยบาย การตัดสินใจ และการพัฒนาวิธีการปฏิบัติงาน เน้นการคิดของสมาชิกเป็นวิธีคิดเชิงกระบวนการระบบ (System Thinking) หมายถึง เข้าใจระบบและนำองค์ประกอบของระบบต่าง ๆ มาเชื่อมปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน สร้างความเข้าใจโครงสร้างที่ทับซ้อนกันอยู่ กล่าวคือ โครงสร้างเชิงสภาวะแวดล้อม โครงสร้างขององค์กร และโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การรับฟังความคิดเห็นอย่างลึกซึ้งและคิดอย่างเป็นระบบของเครือข่ายช่วยให้สามารถหลอมรวมความคิดมากำหนดเป็นแนวทางในการพัฒนานักเรียนได้เป็นอย่างดี
  3. หาแนวทางในการทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ คณะทำงานกำหนดกิจกรรมในการปฏิบัติร่วมกันประกอบด้วยกิจกรรมดังนี้
  4. การบริหารงานคณะครู นักเรียนและแม่ครัวมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างเต็มความรู้ความสามารถ เป้าหมายหลัก คือ นักเรียนมีบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ร่วมกัน เมื่อมีความสำเร็จ ร่วมชื่นชม มีกำลังใจที่จะพัฒนาให้ก้าวต่อไปให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่องค์กรอื่นได้เป็นอย่างดี

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการโดยประชุมเพื่อรับทราบข้อมูลและกิจกรรม ที่โรงเรียนจะดำเนินงานร่วมกัน ตลอดจนให้แสดงความคิดเห็นด้านต่างๆที่จะพัฒนาร่วมกัน และเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีการปลูกผักระยะสั้น เช่น กะหล่ำปลี กะหลำดอก ผักกาดหอม ผักบุ้ง ต้นหอม ผักชี โดยมีนักเรียนตั้งแต่ชั้น ป.4- ป.6 เพื่อส่งขายให้อาหารกลางวัน ในภาคเรียนที่ 2 วันละ 30 กิโลกรัมซึ่งไม่เพียงพอต่อการบริโภค โรงเรียนบริหารจัดการโดยรับซื้อจากตลาดในชุมชน

  • บันทึกการซื้อขายผักให้กับสหกรณ์และโครงการอาหารกลางวัน
  • รายงานสรุปผลผลิต

เชื่อมโยงกับชุมชนให้นำผลผลิตส่งขายให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อส่งต่อให้อาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)
  • โรงเรียนเลี้ยงไก่ไข่ ไก่ดำ หมู เพื่อขายและซื้อโปรตีนอื่นเพื่อมาทำอาหารกลางวัน ยกเว้นไข่ที่นำมาทำอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
  • ในการเลี้ยงสัตว์ในโรงเรียนมีนักเรียนตั้งแต่ชั้น ป.4- ป.6 มีกลุ่มสนใจ(กลุ่มเลี้ยงสัตว์) รับผิดชอบเลี้ยงสัตว์ประเภทต่าง ๆ โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
  • โรงเรียนมอบผลผลิตที่ได้เป็นรางวัลให้นักเรียนที่รับผิดชอบในกิจกรรมนำไปเลี้ยงที่บ้าน
  • บันทึกการซื้อ-ขาย
  • รายการอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

การเลี้ยงปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาสวาย เพื่อการเรียนรู้ และนำเศษข้าวที่เหลือจากอาหารกลางวันมาเลี้ยง

บ่อเลี้ยงปลา

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนจัดบริการขายอาหารว่าง เช่น ซาลาเปา แซนวิช ขายในสหกรณ์โรงเรียน

  • สหกรณ์โรงเรียน
  • ภาพกิจกรรม

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

-โรงเรียนจัดอาหารที่มีผักทุกวัน ในปริมาณเฉลี่ยต่อคนประมาณ 50 กรัม และจัดผลไม้ในสำรับ อาทิตย์ละ 3 วัน ในปริมาณ ประมาณ 50 กรัม เช่น กล้วยไข่ คนละ 1 ผล -โรงเรียนมีระบบสภานักเรียนตรวจสอบการรับประทานอาหารของนักเรียนทุกวัน

  • เมนูอาหาร
  • รายละเอียดการจัดซื้ออาหาร
  • ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

-โรงเรียนจัดอาหารที่มีผักทุกวัน ในปริมาณเฉลี่ยต่อคนประมาณ 60 กรัม และจัดผลไม้ในสำรับ อาทิตย์ละ 3 วัน ในปริมาณ ประมาณ 200 กรัม เช่น กล้วยไข่ คนละ 2 ผล - โรงเรียนมีระบบสภานักเรียนตรวจสอบการรับประทานอาหารของนักเรียนทุกวัน

  • เมนูอาหาร
  • รายละเอียดการจัดซื้ออาหาร
  • ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนไม่มีเด็กอายุ 13-18 ปี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

จัดทำโครงการเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนได้มีการกำหนดรายการอาหารกลางวันล่วงหน้า 1 เดือนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการควบคุมปริมาณอาหาร จากโครงการเด็กไทยแก้มใส

  • รายการอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch
  • รายการจัดซื้อวัตถุดิบ
  • ภาพกิจกรรม

ขยายผลให้กับโรงเรียนเครือข่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/2
เตี้ย 6.74 6.74% 6.13 6.13% 5.82 5.82% 4.44 4.44% 3.77 3.77% 3.02 3.02% 2.41 2.41% 2.26 2.26% 4.59 4.59% 3.83 3.83% 3.52 3.52% 3.22 3.22% 6.53 6.53% nan nan% 6.79 6.79% 3.78 3.78% 4.92 4.92% 5.02 5.02% 4.08 4.08% 2.51 2.51% 1.77 1.77% 1.77 1.77%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 14.24 14.24% 12.71 12.71% 11.49 11.49% 9.95 9.95% 8.75 8.75% 7.84 7.84% 6.64 6.64% 5.58 5.58% 11.94 11.94% 10.11 10.11% 9.80 9.80% 9.49 9.49% 13.83 13.83% nan nan% 15.54 15.54% 9.52 9.52% 9.68 9.68% 10.34 10.34% 8.93 8.93% 6.91 6.91% 5.80 5.80% 5.30 5.30%
ผอม 7.35 7.35% 6.58 6.58% 5.05 5.05% 4.90 4.90% 4.52 4.52% 4.22 4.22% 3.77 3.77% 3.32 3.32% 5.51 5.51% 4.76 4.76% 4.44 4.44% 4.15 4.15% 4.26 4.26% 4.41 4.41% 2.85 2.85% 3.17 3.17% 3.99 3.99% 4.08 4.08% 5.64 5.64% 3.31 3.31% 4.51 4.51% 4.18 4.18%
ผอม+ค่อนข้างผอม 14.70 14.70% 13.78 13.78% 12.10 12.10% 11.79 11.79% 11.31 11.31% 10.86 10.86% 9.95 9.95% 9.05 9.05% 12.71 12.71% 11.21 11.21% 11.03 11.03% 10.45 10.45% 12.77 12.77% 10.81 10.81% 9.46 9.46% 8.31 8.31% 10.75 10.75% 11.76 11.76% 13.64 13.64% 11.18 11.18% 11.92 11.92% 11.74 11.74%
อ้วน 3.98 3.98% 3.83 3.83% 3.68 3.68% 3.52 3.52% 2.87 2.87% 2.41 2.41% 2.56 2.56% 2.56 2.56% 3.22 3.22% 2.76 2.76% 2.60 2.60% 2.61 2.61% 5.32 5.32% 5.18 5.18% 5.11 5.11% 2.87 2.87% 4.76 4.76% 4.70 4.70% 4.08 4.08% 3.15 3.15% 3.70 3.70% 2.89 2.89%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.27% 8.27% 7.81% 7.81% 6.89% 6.89% 6.43% 6.43% 6.03% 6.03% 5.58% 5.58% 5.13% 5.13% 5.28% 5.28% 6.58% 6.58% 6.30% 6.30% 6.13% 6.13% 6.30% 6.30% 10.94% 10.94% 11.42% 11.42% 11.71% 11.71% 7.55% 7.55% 8.14% 8.14% 9.09% 9.09% 7.99% 7.99% 6.77% 6.77% 7.57% 7.57% 6.27% 6.27%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. หน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ โรงเรียยนบ้านกุดเรือคำ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ(สสส.)และเทศบาลตำบลกุดเรือคำ
  2. หน่วยงานที่สนับสุนแหล่งเรียนรู้/วิทยากร ได้แก่ โรงพยาบาลวานรนิวาส โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำปาดง วัดกุดเรือคำ ผู้นำชุมชนบ้านกุดเรือคำ กลุ่มอาชีพในชุมชน ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ พระนางเจ้าสิริกิติ์ จังหวัดสกลนครและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh