แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านเพียนาม
“ โรงเรียนบ้านเพียนาม ”
299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
หัวหน้าโครงการ
นายอนุชา ปัญญานนท์
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเพียนาม
ที่อยู่ 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ
รหัสโครงการ ศรร.1322-083 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.37
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านเพียนาม จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านเพียนาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านเพียนาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านเพียนาม " ดำเนินการในพื้นที่ 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1322-083 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านเพียนาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 301 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านเพียนามจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
โครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่2 โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เลี้ยงปลาในกระชัง
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การเลี้ยงปลา
ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ
ดำเนินการตามกิจกรรม จัดเตรียมสถานที่
โรงเรียนบ้านเพียนามได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเลื้ยงปลาในกระชัง พร้อมแนะนำการทำกระชังปลา
- ทำกระชังปลา
- จัดซื้อพันธุ์ปลา
- ดำเนินการเลี้ยงปลาและดูแล โดยการแบ่งนักเรียนในการดูแลตามระดับชั้น
ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเลี้ยงปลาในแต่ล่ะครั้ง
สรุปวิเคราะห์รายงานผล นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์ วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนบ้านเพียนามมีการผลิตทางเกษตร(ปลา) โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน
โรงเรียนบ้านเพียนามมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
โรงเรียนบ้านเพียนามมีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
โรงเรียนบ้านเพียนาม มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน
105
112
2. เลี้ยงไก่พันธ์ไข่
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ
แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ
ดำเนินการตามกิจกรรม โดยการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเลื้ยงไก่ไข่ พร้อมสาธิต และแบ่งนักเรียนตามกลุ่มรับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร ไข่ไก่ในการประกอบอาหารกลางวัน โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน
โรงเรียนมีการจัดทำแผนการเลื้ยงไก่ที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
โรงเรียนมีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
โรงเรียนมีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและขายให้กับชุมชน
216
188
3. ปลูกผักหมุนเวียน
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ
แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ
ดำเนินการตามกิจกรรม
- โรงเรียนบ้านเพียนามได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการปลูกพืชหมุนเวียน หรือการปลูกพืชผสมผสานที่เหมาะในแต่ละฤดูกาล
- แบ่งกลุ่มการจัดเตรียมดินเพื่อเพาะปลูก
- ครั้งที่ 1 เดือนสิงหาคม 2559
- ครั้งที่ 2 เดือนตุลาคม 2559
ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมในแต่ละครั้ง
สรุปวิเคราะห์รายงานผล
นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน
โรงเรียนมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
ระดับ 3 : มีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
ระดับ 4 : มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรม
อาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน
94
94
4. รายงานงวดที่ 2
วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
135
20
5. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1
วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
2
20
6. รายงานงวดที่ 1
วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
135
20
7. การนิเทศ กำกับติดตาม
วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
10
20
8. เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมครูเพื่อสร้างเครื่องมือกำกับติดตามโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : จัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนรายบุคคล 135 คน -ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 จำนวน 135 คน
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินงานและสามารติดตามผลการดำเนินงานได้ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
146
146
9. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
วันที่ 16 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ครู 20 คน -นักเรียนแกนนำ 30 คน ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขาภิบาล จัดกิจกรรมรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม นักเรียนทุกคนช่วยกันรับผิดชอบเขตพื้นที่ความสะอาดบริเวณโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ครู 20 คน -นักเรียนแกนนำ 30 คน ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขาภิบาล จัดกิจกรรมรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม นักเรียนทุกคนช่วยกันรับผิดชอบเขตพื้นที่ความสะอาดบริเวณโรงเรียน
ผลลัพท์ : ครู นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาล นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการร่วมมือดูแลสภาพแวดล้อม นักเรียนมีส่วนร่วมพัฒนาสภาพแวดล้อม
105
114
10. การจัดบริการสุขภาพของนักเรียน
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : อบรมนักเรียน 135 คน ให้แปรงฟันถูกวิธีหลังรับประทานอาหารเที่ยง นักเรียนจำนวน 135 คน ได้รับการอบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ประชุมเชิงปฏิบัติการนักเรียนแกนนำ 20 คนเพื่อฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : อบรมนักเรียน 135 คน ให้แปรงฟันถูกวิธีหลังรับประทานอาหารเที่ยง นักเรียนจำนวน 135 คน ได้รับการอบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ประชุมเชิงปฏิบัติการนักเรียนแกนนำ 20 คนเพื่อฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาล
ผลลัพท์ : นักเรียนแปรงฟันถูกวิธี มีฟันที่แข็งแรง ไม่เป็นฟันผุ นักเรียนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจในการแนะนำช่วยเหลือนักเรียนในการดูแลสุขภาพตนเอง นักเรียนสามารถ ปฐมพยาบาล ช่วยเหลือเบื้องต้นได้
150
147
11. โรงเรียนสวยด้วยมือเรา
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ชั้น ป.1– ป.6 ใน 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ
ผลลัพท์ : นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย
105
103
12. การเรียนรู้โภชนาการสมวัยเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ชั้น ป.1– ป.6 ใน 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ
ผลลัพท์ : นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย
105
105
13. ออกกำลังกายเพื่อให้ได้สมรรถภาพแข็งแรง
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ชั้น ป.1– ป.6 ใน 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ
ผลลัพท์ : นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย
เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านเพียนาม มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและมีเจตคติที่ดีต่อการดูแลรักษาสุขภาพ
105
100
14. เปิดศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สร้างเครือข่ายการเรียนรู้
วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : เชิญครู นักเรียน จากโรงเรียนในเครือข่ายตำบลหนองไผ่ 5 โรงเรียน มาเรียนรู้ที่ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 8 ฐาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ครู นักเรียน จากโรงเรียนในเครือข่าย ได้เรียนรู้ การเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพอนามัย
ผลลัพท์ : โรงเรียนในเครือข่ายคุณภาพยศบดินทร์ ได้นำแนวทางดำเนินงานโครงการเด็กไทยไปปรับใช้ในโรงเรียน
94
99
15. ถอนเงินเปิดบัญชี
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนเงินเปิดบัญชี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถอนเงินเปิดบัญชี
1
1
16. คืนดอกเบี้ยโครงการ
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
1
1
17. รายงานฉบับสมบูรณ์
วันที่ 2 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
146
143
18. ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วันที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด
ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
150
145
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถศึกษา เพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
2
เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : โรงเรียนลดปัญหาทุพโภชนาการลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
3
เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
4
เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านเพียนาม จังหวัด ศรีสะเกษ
รหัสโครงการ ศรร.1322-083
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอนุชา ปัญญานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านเพียนาม
“ โรงเรียนบ้านเพียนาม ”
299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษหัวหน้าโครงการ
นายอนุชา ปัญญานนท์
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเพียนาม
ที่อยู่ 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ
รหัสโครงการ ศรร.1322-083 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.37
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านเพียนาม จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านเพียนาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านเพียนาม
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านเพียนาม " ดำเนินการในพื้นที่ 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1322-083 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านเพียนาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 301 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านเพียนามจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
โครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่2 โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องอย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
- พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
- ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เลี้ยงปลาในกระชัง |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การเลี้ยงปลา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนบ้านเพียนามมีการผลิตทางเกษตร(ปลา) โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน
โรงเรียนบ้านเพียนามมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
โรงเรียนบ้านเพียนามมีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
|
105 | 112 |
2. เลี้ยงไก่พันธ์ไข่ |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม โดยการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเลื้ยงไก่ไข่ พร้อมสาธิต และแบ่งนักเรียนตามกลุ่มรับผิดชอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร ไข่ไก่ในการประกอบอาหารกลางวัน โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน
โรงเรียนมีการจัดทำแผนการเลื้ยงไก่ที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
โรงเรียนมีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
|
216 | 188 |
3. ปลูกผักหมุนเวียน |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน
โรงเรียนมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน
ระดับ 3 : มีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
|
94 | 94 |
4. รายงานงวดที่ 2 |
||
วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
135 | 20 |
5. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 |
||
วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
2 | 20 |
6. รายงานงวดที่ 1 |
||
วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
135 | 20 |
7. การนิเทศ กำกับติดตาม |
||
วันที่ 9 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
10 | 20 |
8. เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน |
||
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมครูเพื่อสร้างเครื่องมือกำกับติดตามโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : จัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนรายบุคคล 135 คน -ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 จำนวน 135 คน ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินงานและสามารติดตามผลการดำเนินงานได้ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
|
146 | 146 |
9. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม |
||
วันที่ 16 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ครู 20 คน -นักเรียนแกนนำ 30 คน ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขาภิบาล จัดกิจกรรมรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม นักเรียนทุกคนช่วยกันรับผิดชอบเขตพื้นที่ความสะอาดบริเวณโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ครู 20 คน -นักเรียนแกนนำ 30 คน ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องสุขาภิบาล จัดกิจกรรมรณรงค์ให้นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม นักเรียนทุกคนช่วยกันรับผิดชอบเขตพื้นที่ความสะอาดบริเวณโรงเรียน ผลลัพท์ : ครู นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขาภิบาล นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการร่วมมือดูแลสภาพแวดล้อม นักเรียนมีส่วนร่วมพัฒนาสภาพแวดล้อม
|
105 | 114 |
10. การจัดบริการสุขภาพของนักเรียน |
||
วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : อบรมนักเรียน 135 คน ให้แปรงฟันถูกวิธีหลังรับประทานอาหารเที่ยง นักเรียนจำนวน 135 คน ได้รับการอบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ประชุมเชิงปฏิบัติการนักเรียนแกนนำ 20 คนเพื่อฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : อบรมนักเรียน 135 คน ให้แปรงฟันถูกวิธีหลังรับประทานอาหารเที่ยง นักเรียนจำนวน 135 คน ได้รับการอบรมแกนนำส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ประชุมเชิงปฏิบัติการนักเรียนแกนนำ 20 คนเพื่อฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาล ผลลัพท์ : นักเรียนแปรงฟันถูกวิธี มีฟันที่แข็งแรง ไม่เป็นฟันผุ นักเรียนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจในการแนะนำช่วยเหลือนักเรียนในการดูแลสุขภาพตนเอง นักเรียนสามารถ ปฐมพยาบาล ช่วยเหลือเบื้องต้นได้
|
150 | 147 |
11. โรงเรียนสวยด้วยมือเรา |
||
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ชั้น ป.1– ป.6 ใน 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ ผลลัพท์ : นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย
|
105 | 103 |
12. การเรียนรู้โภชนาการสมวัยเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ชั้น ป.1– ป.6 ใน 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ ผลลัพท์ : นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย
|
105 | 105 |
13. ออกกำลังกายเพื่อให้ได้สมรรถภาพแข็งแรง |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้และจัดหาสื่อการเรียนรู้ชั้น ป.1– ป.6 ใน 5 เรื่อง (1)ธงโภชนาการ (2) ผักผลไม้ (3) ลดหวานมันเค็ม (4) โรคอ้วน (5) ทันตสุขภาพ ผลลัพท์ : นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านเพียนาม มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและมีเจตคติที่ดีต่อการดูแลรักษาสุขภาพ
|
105 | 100 |
14. เปิดศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ |
||
วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : เชิญครู นักเรียน จากโรงเรียนในเครือข่ายตำบลหนองไผ่ 5 โรงเรียน มาเรียนรู้ที่ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 8 ฐาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ครู นักเรียน จากโรงเรียนในเครือข่าย ได้เรียนรู้ การเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพอนามัย ผลลัพท์ : โรงเรียนในเครือข่ายคุณภาพยศบดินทร์ ได้นำแนวทางดำเนินงานโครงการเด็กไทยไปปรับใช้ในโรงเรียน
|
94 | 99 |
15. ถอนเงินเปิดบัญชี |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนเงินเปิดบัญชี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถอนเงินเปิดบัญชี
|
1 | 1 |
16. คืนดอกเบี้ยโครงการ |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
1 | 1 |
17. รายงานฉบับสมบูรณ์ |
||
วันที่ 2 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
146 | 143 |
18. ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||
วันที่ 27 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรมหลัก : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต : ประชุมคณะครู 15 คน เพื่อกำหนดแนวทางนิเทศ กำกับติดตามและสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด จัดทำราย รายงาน การดำเนินงาน จำนวน 5 ชุด รายการดำเนินงานตามกรอบที่ สสส.กำหนด ผลลัพท์ : ผู้รับผิดชอบโครงการทราบแนวทางดำเนินและสามารถรายงานผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน โรงเรียน สสส.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบผลการดำเนินงาน
|
150 | 145 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถศึกษา เพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง |
||||
2 | เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : โรงเรียนลดปัญหาทุพโภชนาการลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ |
||||
3 | เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน |
||||
4 | เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านเพียนาม จังหวัด ศรีสะเกษ
รหัสโครงการ ศรร.1322-083
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอนุชา ปัญญานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......