ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านกาดฮาว |
สังกัด | สพฐ. |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.เชียงใหม่ เขต 2 |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 4 ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50330 |
จำนวนนักเรียน | 167 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายภาณุพงศ์ ประพันธ์ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางดลนภา อุปนันท์ |
- 274634213_376424840980504_3887693463166818122_n.jpg
- 274318622_487381492920844_7327933851977352151_n.jpg
- 274095087_474569827486712_691717170177232520_n.jpg
- 274354459_4400339286733198_6089700851228991621_n.jpg
- 274024880_691187692225642_406308610314482050_n.jpg
- 274082220_426688292561399_7281315283472570266_n.jpg
- 274685612_511807086984229_7790620601181415290_n.jpg
อบรม แกนนำนักเรียน อย.น้อย นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ด้านอาหารโภชนาการและสุขภาวะนักเรียน
1.แกนนำนักเรียน อย.น้อยนักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมด้านด้านอาหารโภชนาการและสุขภาวะนักเรียน 2.แกนนำนักเรียน อย.น้อยตรวจสอบ / ประเมินการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียน 3.แกนนำนักเรียน อย.น้อยถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนในโรงเรียนละบุคคลภายนอกได้ 4.นักเรียนร้อยละ 90 รู้จักเลือกกินอาหาร ครบ 5 หมู่ และอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
อบรมนักโภชนาการน้อยในการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน ตามมาตรฐานโภชนาการ (Thai School Lunch)
นักโภชนาการน้อยได้รับการอบรมและสามารถจัดทำรายการอาหารหมุนเวียน ตามมาตรฐานโภชนาการ (Thai School Lunch) ได้
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_40.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_96_0.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_102.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_65.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_53.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_4.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_45.jpg
- กิจกรรมปลูกผักในวงล้อ_220306_0.jpg
- เมนูวงล้อ.ผักบุ้งจ้าวววว_220309_28.jpg
- เมนูวงล้อ.ผักบุ้งจ้าวววว_220309_73.jpg
- เมนูวงล้อ.ผักบุ้งจ้าวววว_220309_100.jpg
- เมนูวงล้อ.ผักบุ้งจ้าวววว_220309_84.jpg
- เมนูวงล้อ.ผักบุ้งจ้าวววว_220309_57.jpg
- เมนูวงล้อ.ผักบุ้งจ้าวววว_220309_26.jpg
แจกเมล็ดพันธ์ผักบุ้งให้นักเรียนนำไปปลุกที่บ้าน บูรณาการการเรียนรู้เกษตร อาหารและโภชนาการ ได้เรียนรู้ขั้นตอนการปลูก การดูแล การเก็บเกี่ยว และการประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการจากผลผลิต
นักเรียนได้เรียนรู้ขั้นตอนการปลูก การดูแล การเก็บเกี่ยว และการประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการจากผลผลิต
เป็นศูนย์เรียนรู้ให้ความรู้และแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมให้กับโรงเรียนเครือข่าย
โรงเรียนเครือข่ายได้ศึกษาดูงานและนำแนวทางการดำเนินกิจกรรมไปประยุกต์ใช้
- 274206803_1140222533402785_3606702297485856054_n.jpg
- 274108627_1002399007041750_1075829724520127141_n.jpg
- 274035944_555282982227667_3435992628385425652_n.jpg
- 274161709_972712576967492_3049714230949450679_n.jpg
- 273940338_1288033251716520_7596788157504531715_n.jpg
- 20220216_111637.jpg
- 20220216_132847.jpg
จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ด้านเกษตรสู่อาหารกลางวันและโภชนาการ จัดทำสื่อการเรียนการสอน
1.นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 ทุกคนได้เรียนรู้และมีความตระหนักในด้านเกษตรสู่อาหารกลางวันและโภชนาการ 2.นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ประชุมผู้ปกครองเพื่อแจ้งนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของโครงการและขอความร่วมมือในการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
1โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการอาหารกลางวันที่ดีตามมาตรฐานโภชนาการ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 5วัน / สัปดาห์ 2.การดำเนินกิจกรรมเป็นในทิศทางที่วางไว้โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน
- 20220202_083726.jpg
- 20220202_083121.jpg
- 274643821_5462952730385838_6067826853062574031_n.jpg
- 274654495_456159519633944_6024125753556891194_n.jpg
- 274747176_1827483200975915_1246989846730897101_n.jpg
- 275246846_636621964084248_4347352313534242365_n.jpg
- 275613797_372027921217794_1818159390844784027_n.jpg
นักเรียนภาวะโภชนาการปกติ นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ออกกำลังกายในช่วงเช้า และก่อนกลับบ้าน
นักเรียนร้อยละ 85 มีภาวะโภชนาการเหมาะสมกับวัย
จัดบริการอาหารกลางวันนักเรียนตามโปรแกรม Thai School Lunch
นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่า ถูกหลักโภชนาการตามมาตรฐานอาหารกลางวัน
- ปลูกยอดอ่อนทานตะวัน_220306_5.jpg
- ปลูกยอดอ่อนทานตะวัน_220306_8.jpg
- ปลูกยอดอ่อนทานตะวัน_220306_1.jpg
- ปลูกยอดอ่อนทานตะวัน_220306_2.jpg
- 20220204_074223.jpg
- 20220204_074604.jpg
- 20220204_074930.jpg
- 20220208_073352.jpg
- 20211230_173507.jpg
- 20220127_105449.jpg
- 20220127_105422.jpg
- 20220127_110240.jpg
- 20220127_105714.jpg
1.กิจกรรมการเรียนรู้เกษตรในโรงเรียนเพื่ออาหารกลางวัน เด็กได้เรียนรู้การปลูกผัก การดูแล และการเก็บเกี่ยวจำหน่ายสู่โรงอาหารโรงเรียน 2. เรียนรู้เกษตรในชุมชน
นักเรียนได้เรียนรู้และมีทักษะในการปลูกผัก การดูแล และการเก็บเกี่ยวจำหน่ายสู่โรงอาหารโรงเรียน
คืนดอกเบี้ยในบัญชี เพื่อปิดโครงการ ให้ กับ สสส.
-
- 271717594_1354578905057721_2548867333230664498_n.jpg
- 272238236_222417296679917_7482443962313891057_n.jpg
- 274654495_683411519373582_6931875281522583045_n.jpg
- 275078302_439465311199248_5297194895468996265_n.jpg
- 274684741_430261512229315_3289175637750512346_n.jpg
- 274120994_319192706741615_1383916137320236834_n.jpg
จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูงแปลผล นำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหา เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2.คัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาทุพโภชนาการ
1.นักเรียนมีฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูงที่แปลผลภาวะโภชนาการ 2.โรงเรียนนำฐานข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 3.นักเรียนร้อยละ 85 มีภาวะโภชนาการเหมาะสมกับวัย 4.นักเรียนกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 90 ได้รับการแก้ไขภาวะโภชนาการโดยผู้ปกครองมีส่วนร่วม
1.ประชุมคณะครูเพื่อระดมความคิดในการกำหนดนโยบายทิศทางการดำเนินงานของโครงการ 2.ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อแจ้งนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของโครงการและรับฟังข้อเสนอแนะ
1โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการอาหารกลางวันที่ดีตามมาตรฐานโภชนาการ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch 5วัน / สัปดาห์ 2.การดำเนินกิจกรรมเป็นในทิศทางที่วางไว้โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน
ออกเยี่ยมบ้านนักเรียน และนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภคอาหารในครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครองและนักเรียน บันทึกน้ำหนักส่วนสูงและการบริโภคอาหารนักเรียนทุกวันเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
- ผู้ปกครองและครูได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและนำความรู้ที่ได้รับมาปรับ และดูแลนักเรียนทั้งที่บ้านและโรงเรียน
- นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้น
จัดทำเอกสารแผ่นพับให้ความรู้ฐานการเรียนรู้ต่างๆ และไวนิล ศึกษาอบรมความรู้เรื่องเสาวรสและผักจากปราชญ์ชาวบ้านจัดกิจกรรมเริงร่าหลากหลายเมนูผักหรรษาของนักเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 6 และจัดการประกวดกิจกรรมเริงร่าหลากหลายเมนูผักหรรษา(สัปดาห์กินผัก)ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- นักเรียนได้รับความรู้และเกิดความสนุกสนานในการทำกิจกรรม
- นักเรียนทุกคนได้ลงมือปฏิบัติในการทำอาหารเมนูผักและรับประทานอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบเพื่อฝึกนิสัยในการรับประทานผักต่อไป
- ขยายการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ชุมชน - จัดการประชุมเสนอโครงการต่อผู้ปกครองรับสมัครสมาชิกที่สนใจ - อบรมให้ความรู้แก่สมาชิกที่สนใจในการปลูกผัก พร้อมทั้ง แจกเมล็ดพันธุ์พืชเพื่อนำไป ขยายผลต่อไป - นำผู้ปกครอง นักเรียนศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้เกษตรแม่เหี๊ยะ - ผู้ปกครองนำความรู้ที่ได้รับมาปลูกผักปลอดสารพิษในบริเวณบ้านที่อยู่อาศัยของตนเอง
- ผู้ปกครองและนักเรียนได้ความรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษกินเองในบ้านและเผยแพร่สู่ชุมชน
- โรงเรียนมีสื่อ นวัตกรรม หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สารพัดผัก ครบเครื่องเรื่องกบ ฯลฯ
- ผู้ปกครองปลูกผักปลอดสารพิษ และบริโภคผักปลอดสารพิษที่ตนเองปลูก
- จัดเตรียมเอกสารสรุปงานระยะที่ 1,2,3 / วาระการประชุม /อาหารว่างอาหารกลางวัน สรุปงาน ระยะที่ 1,2,3
- ประชุมติดตามการดำเนินงานระยะที่ 1 ,2,3
- บันทึก / แก้ไข / ปรับปรุงปัญหาที่เกิดขึ้น
- รายงานสรุป
- ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากที่ประชุม
- ได้นำข้อมูลและข้อเสนอแนะมาปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้ดีขึ้น
-จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน - พัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเป็นศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส - กิจกรรม Big CleaningDay ร่วมกับผู้ปกครอง
- นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองและรู้ทันโรคที่เกิดขึ้นในฤดูฝน เช่นไข้เลือดออกโรคตาแดง โรคมือ ปากเท้า
- สามารถป้องกันตนเองและนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้กับที่บ้านและชุมชน
- โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมสะอาดเหมาะแก่การเป็นศูนย์เรียนรู้โดยความร่วมมือของผู้ปกครองนักเรียน และครูช่วยกันทำความสะอาดโรงเรียน
1.จัดทำโครงปลูกเสาวรส และซื้อพันธุ์เสาวรส วันที่ 30 พฤษภาคม - 3 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 5,000 บาท
2.จัดทำจัดทำโครงปลูกผักไม้เลื้อย วันที่ 6 มิถุนายน - 15 มิถุนายน งบประมาณ 5,000 บาท
3.ปรับปรุงโรงเลี้ยงกบ วันที่ 13 มิถุนายน - 22 มิถุนายน งบประมาณ 4,000 บาท
4.ปรับปรุงโรงเรีอนเพาะเห็ด วันที่ 16 มิถุนายน - 24 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 4,000 บาท
5.จัดทำโรงเรือนปลูกผีกไฮโดรโพนิคส์ วันที่ 20 มิถุนายน - 30 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 3,000 บาท และซื้ออุปกรณ์เพาะเมล็ด - เมล็ดผักไฮโดโปรนิกส์ งบประมาณ 2,000 บาท
6.จัดทำโรงเรือนเพาะเลี้ยงไส้เดือนและซื้อพันธุ์ไส้เดือน วันที่ 23 มิถุนายน - 30 มิถุนายน 2559 งบประมาณ 4,500 บาท
7.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ดูแลพืชผัก ปุ๋ยและอาหารกบ 7,500 บาท
1.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์ให้นักเรียนและผู้ที่สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ 2.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก 3.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ 4.ได้ฐานการเรียนรู้ สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์ 5.ได้ฐานการเรียนรู้ผักไฮโดรโพนิคส์ 6.ได้ฐานการเรียนรู้การเพาะเลี้ยงไส้เดือน นักเรียนทุกชั้นเรียนจะเรียนรู้จนครบทุกฐานหมุนเวียนกันไป และสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฎิบัติต่อที่บ้านได้ และสามารถนำเสนอความรู้ให้กับบุคลากรหรือหน่วยงานที่มาศึกษาดูงานที่โรงเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว
1.รับสมัครสมาชิกสหกรณ์เพิ่ม 2.คัดเลือกเจ้าหน้าที่สหกรณ์ 3.ประชุมคณะกรรมการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 4.จัดซื้อสินค้าและผักของโรงเรียน 5.จัดทำบัญชีต่างๆ 6.จัดนิทรรศการสหกรณ์นักเรียนร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ 7.จัดการเรียนรู้เกี่ยวกับสหกรณ์นักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6
การจัดการสหกรณ์นักเรียนเป็นระบบดีขึ้นมีการแต่งตั้งประธาน รองประธาน เหรัญญิก และคณะกรรมการดำเนินการ ทำให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการดำเนินงานสหกรณ์ดีขึ้น มีคณะครู นักเรียน และแม่ครัวสมัครเป็นสมาชิกและอุดหนุนสินค้าของสหกรณ์นักเรียน มีการจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องเขียน อุปกรณ์แปรงฟัน อุปกรณ์ลูกเสือ เครื่องปรุงในการประกอบอาหารของแม่ครัว และผัก เห็ด กบ และผลิตของโรงเรียนไว้จำหน่าย มีการจัดการเรียนรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับนักเรียนทุกชั้น เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยกับสหกรณ์นักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน และนำกิจกรรมการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนไปร่วมจัดนิทรรศการ ร่วมกับโรงเรียนและหน่วยงานอื่น
จัดทำฐานข้อมมูลนำ้หนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียนของนักเรียนทุกคนและแปรภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม ติดตามนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
กิจกรรมแรลลี่ลดพุง
- โรงเรียนมีฐานมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกายและดูแลภาวะสุขภาพและมีการนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม
- นักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการแก้ไขปัญหาพฤติกรรม
- จัดเตรียมเอกสารต่างๆ เช่น หนังสือเชิญประชุม / เอกสารประชุม /อาหารว่าง
- กำหนดวาระการประชุม
- จัดประชุมตามหัวข้อ
- สอบถามความเห็น
- นำผลการประชุมไปปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสให้กับคณะครูและคณะกรรมการสถานศึกษาพร้อมด้วยตัวแทนคณะกรรมการนักเรียน ให้รับทราบ ถึงรายละเอียดของกิจกรรมต่างๆของโครงการ พร้อมทั้งแบ่งหน้าที่ให้กับคณะครูรับผิดชอบกิจกรรมต่างๆ ขอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในกิจกรรมต่างๆ
1.คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบกิจกรรมโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสและให้ข้อเสนอแนะให้ชุมชนมีส่วนร่วมกับโรงเรียน และโรงเรียนมีส่วนร่วมกับชุมชน คณะครูเข้าใจและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ทุกฝ่ายให้ความร่วมมือในการประชุมครั้งนี้
1.จัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2.ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
1.มีการจัดทำรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนและบอกสารอาหารของแต่ละเมนู 2.นักเรียนตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง
- ปรับปรุงซ่อมแซมโรงเลี้ยงกบ
- ส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียนส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียน
- นำกบที่เลี้ยงมาทำอาหารกลางวัน
- ได้ฐานการเรียนรู่สถานีที่ 4 ครบเครื่องเรื่องกบ
- นักเรียนได้บริโภคกบที่ตนเองเลี้ยง
- ปรับปรุงโรงเพาะเห็ด
- เพาะเห็ดนางฟ้าส่งขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียน
- นำเห็ดนางฟ้ามาทำอาหารกลางวันให้นักเรียน
- ได้ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 3 นางฟ้าตกสวรรค์
- นักเรียนมีทักษะในการเพาะและขายเห็ด
- นักเรียนได้รับประทานเห็ดนางฟ้าที่ปลอดสารพิษ
1.ซ่อมแซมปรับปรุงโครงปลูกเสาวรสและซื้อพันธ์ุเสาวรส โดยการทำซุ้มเสาวรส เพื่อให้ร่มเงาและทำน้ำเสาวรสให้นักเรียนได้รับประทานโดยการทำซุ้มเสาวรส โดยบรเวณรอบๆต้นเสาวรสจะปลูกผักปลอดสารพิษ 2. ปลูกเสาวรส 3. นักเรียนทำน้ำเสาวรสส่งขายผ่านสหกรณ์นักเรียน
- ได้ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 2 เสาวรสมากประโยชน์
- นักเรียนสามารถปลูกและดูแลต้นเสาวรสให้ออกผลได้
- นักเรียนทำน้ำเสาวรสส่งขายผ่านสหกรณ์ได้
ขยายแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน เพิ่ม4 ฐาน 1.ปรับปรุงซ่อมแซมโครงปลูกผักไม้เลื้อย 2.ปรับปรุงซ่อมแซมโรงผักไฮโดโปรนิคส์ 3.ปรับปรุงซ่อมแซมโรงเรือนเลี้ยงไส้เดือนซื้อพันธฺุ์ไส้เดือน 4.ดำเนินกิจกรรม ฐานที่ 1 ปลูกผักส่งรักเพิ่มปริมาณการปลูกผักให้มากขึ้นโดยแบ่งเป็นปลูกผักในแปลงพื้นดินและในกระถางและปลูกผักหลากหลายชนิดสลับ หมุนเวียนกันไป เช่น ผักกาดกวางตุ้งผักบุ้ง กะหล่ำปลีกะหล่ำดอก ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตาต้นหอมผักชี และปลูก การผักไฮโดโปนิค เช่นผักสลัด กรีนคอส เรดคอส ผักกาดกวางตุ้งอีกทั้งมีการปลูกผักแบบซุ้มพันธุ์ไม้เลื้อย เช่นถั่วพูบวบผักเชียงดาน้ำเต้าแตงกวา ถั่วลันเตาและยัง มีการเพาะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อทำปุ๋ยให้กับผักที่ปลูก
- ได้ฐานการเรียนรู้สถานีที่ 1 ปลูกผักส่งรัก
- มีแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
- นักเรียนได้ความรู้และมีทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ
- นักเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษผ่านโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน