ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านไร่ |
สังกัด | สพป. |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.สงขลา เขต ๓ |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 5 ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา 90210 |
จำนวนนักเรียน | 150 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางสาวอรพิน ฝั้นขุ่น |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางยุพิน เทศนา |
6.1 ด้านนโยบายและการบริหารจัดการของสถานศึกษา
กิจกรรมพัฒนาครู นักเรียน ผู้ปกครอง
1..โรงเรียนบ้านไร่ สะบ้าย้อย ได้มีจัดประชุม ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตัวแทนเครือข่าย ทบทวนความรู้ ความเข้าใจนโยบาย กรอบแนวคิดของโรงเรียนด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษา
2. ศึกษาดูงาน แปลงผักสาธิตในชุมชน
6.2 การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม
กิจกรรม “ไฮโดรโปนิกส์”ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข”
1. จัดเตรียมโรงเรือน
2. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน “ไฮโดรโปนิกส์”
6.3 การจัดบริการอาหารในโรงเรียนให้มีคุณค่าทางโภชนาการ
กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ
กิจกรรมอาหารกลางวัน
นำผักที่ได้จาการปลูกไปใช้สำหรับประกอบอาหารกลางวัน
6.4 การบูรณาการจัดการเรียนรู้ และปัจจัยแวดล้อม
กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์
กิจกรรมแหล่งเรียนรู้
นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ
6.5 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียน
กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ
ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง
สำรวจพฤติกรรมนักเรียน
ให้ความรู้ด้านภาวะโภชนาการ
6.6 Best Practice School ด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร
“ไฮโดรโปนิกส์”ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข
ปลูกผักปลอดสารพิษส่งโครงการอาหารกลางวันที่เหลือกินจำหน่ายให้ชุมชน
1.ด้านนโยบายและการบริหารจัดการของสถานศึกษา
- กิจกรรมพัฒนาครู นักเรียน ผู้ปกครอง
ผลผลิต(Output)
1.โรงเรียนบ้านไร่ สะบ้าย้อย ได้มีจัดประชุม ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ตัวแทนเครือข่าย ทบทวนความรู้ ความเข้าใจนโยบาย กรอบแนวคิดของโรงเรียนด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษา
2.ศึกษาดูงาน แปลงผักสาธิตในชุมชน
ผลลัพธ์(Outcome)
ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้แทนเครือข่าย มีความรู้ด้านโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนมากขึ้น
และได้รับประสบการณ์จากการศึกษาดูงานแปลงผักสาธิตจากชุมชน และจากสำนักงานเกษตรอำเภอสะบ้าย้อย
2.การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม
- กิจกรรม “ไฮโดรโปนิกส์”ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข”
ผลผลิต(Output)
1.จัดเตรียมโรงเรือน
2. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน “ไฮโดรโปนิกส์”
ผลลัพธ์(Outcome)
โรงเรียนมีโรงเรือนใช้สำหรับการปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 1 แปลง
3.การจัดบริการอาหารในโรงเรียนให้มีคุณค่าทางโภชนาการ
- กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ
- กิจกรรมอาหารกลางวัน
ผลผลิต(Output)
โรงเรียนนำผักที่ได้จาการปลูกไปใช้สำหรับประกอบอาหารกลางวัน
ผลลัพธ์(Outcome)
โรงเรียนมีและใช้เมนูอาหารกลางวันจาก TSL ประยุกต์กับวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นและมีการใช้พืชผักในชุมชนตามฟดูกาลได้
4.ด้านการบูรณาการจัดการเรียนรู้ และปัจจัยแวดล้อม
-กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง
-กิจกรรมชุมนุม
-กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์
-กิจกรรมแหล่งเรียนรู้
ผลผลิต(Output)
โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านโภชนาการและความปลอดภัย อย่างน้อย 4 กิจกรรม
ผลลัพธ์(Outcome)
ครูมีความรู้ความเข้าใจมีการจัดการเรียนการสอนด้านโภชนาการและอาหารปลอดภัยอย่างน้อย 4 กลุ่มสาระวิชา และ 4 กิจกรรมตามหลักสูตรสถานศึกษาและนักเรียนชั้น ป.4-6 มีความรอบรู้การบริโภคอาหารและโภชนาการที่สมดุลไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5.ด้านการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียน-
-กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการ
ผลผลิต(Output)
1. โรงเรียนดำเนินการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน
2. โรงเรียนสำรวจพฤติกรรมนักเรียน
3. โรงเรียนให้ความรู้ด้านภาวะโภชนาการ
ผลลัพธ์(Outcome)
ครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยนักเรียนสามารถคัดกรองภาวะทุพโภชนาการนักเรียนได้อย่างถูกต้องของนักเรียน 3-12 ปีโดยการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง เปรียบเทียบปี 2566-2567 มีภาวุพโภชนาการลดลงโดยการสำรวจพฤติกรรมนักเรียนและให้ความรู้
ุ6.Best Practice School ด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร“ไฮโดรโปนิกส์”ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข
ผลผลิต(Output)
โรงเรียนจัดทำกิจกรรม Best Practice School ด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร“ไฮโดรโปนิกส์”ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเข้าโครงการอาหารกลางวัน
ผลลัพธ์(Outcome)
การจัดทำกิจกรรม Best Practice School ด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร“ไฮโดรโปนิกส์”ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเข้าโครงการอาหารกลางวัน สามารถสร้างรายได้และอาชีพให้นักเรียนได้
ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข
นักเรียนได้ความรู้เรื่องการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ผักไร้ดิน ปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข