การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
กิจกรรมหลัก : การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
งบประมาณ 5,000.00 บาท
วัตถุประสงค์
รายละเอียดกิจกรรม :
ชื่อกิจกรรม รายละเอียดการดำเนินกิจกรรม มาตรฐานที่ 1 นโยบายและการบริหารจัดการของสถานศึกษา 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ (ปี 2564) จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ 2. กิจกรรมบูรณาการโครงงานอาชีพในชั้น (ปี 2565) จัดทำโครงงาน “การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์” 3. กิจกรรมเสียงตามสาย (ปี 2565) ประชาสัมพันธ์ เรื่อง การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ มาตรฐานที่ 2 การจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม 1. ให้ความรู้/ประชาสัมพันธ์/บูรณาการในการจัดการเรียนการสอน (ปี 2564) ให้ความรู้/ป้ายประชาสัมพันธ์ ด้านความปลอดภัยอาหาร สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม 2. การปรับปรุงอาคาร สถานที่ (ปี 2564) ปรับปรุงโรงครัว, โรงอาหาร ให้สะอาดปลอดภัยตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ 3. กิจกรรมบูรณาการสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม (ปี 2565) - การนำน้ำที่เปลี่ยนจากบ่อปลาดุกไปใช้ในการเพาะปลูก
ชื่อกิจกรรม รายละเอียดการดำเนินกิจกรรม มาตรฐานที่ 3 คุณค่าทางโภชนาการ สารอาหารที่เด็กควรได้รับตามวัย 1. กิจกรรมส่งเสริมอาหารกลางวัน (ปี 2565) - จำหน่ายเพื่อโครงการอาหารกลางวัน ตาม Thai School Lunch 2. กิจกรรมบูรณาการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน (ปี 2565) จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนคุณค่าทางโภชนาการ สารอาหารที่เด็กควรได้รับตามวัย มาตรฐานที่ 4 การบูรณาการจัดการเรียนรู้ และปัจจัยแวดล้อมเชิงสร้างสรรค์ 1. กิจกรรมบูรณาการเนื้อหาในวิชาต่างๆ (ปี 2565) จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปัจจัยแวดล้อมเชิงสร้างสรรค์เกี่ยวกับปลาดุก 2. กิจกรรมนำเสนอผลงาน (ปี 2565) - โครงงาน “การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์” - การจัดนิทรรศการแสดงผลงานนักเรียน มาตรฐานที่ 5 การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ 1. กิจกรรมอาหารกลางวัน (ปี 2565) - สนับสนุนเพื่อโครงการอาหารกลางวัน 2. กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง (ปี 2565) - วิเคราะห์ภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนก่อน และหลังการดำเนินโครงการ
ผลผลิต :
- เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
- เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
- เพื่อให้นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
ผลลัพธ์ :
1.เพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน 2.นักเรียนร้อยละ 80 ได้ฝึกปฏิบัติจริง - การเลี้ยงปลาดุก 3. นักเรียน ร้อยละ 80 ได้รับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
ภาคีร่วมสนับสนุน :