ชื่อกิจกรรม : การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

สถานที่ : โรงเรียนบ้านลำทับ

เวลา : 2016-11-03 - 2017-03-31

กลุ่มเป้าหมาย : 73

รายละเอียดกิจกรรมตามแผน : โครงการ ตามศาสตร์พระราชา แผนงาน งานบริหารทั่วไป มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ มฐ1.1-1.6, มฐ6.1-6.4, มฐ10.1-10.6,มฐ11.1-11.2, มฐ 14.1-14.2,มฐ15.1 กลยุทธ์โรงเรียนบ้านลำทับที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรมน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจิติพร โพธิการ ลักษณะโครงการ โครงการใหม่ ระยะเวลาดำเนินการ พฤศจิกายน 2559 – มีนาคม 2560 .................................................................................................................................................... 1.หลักการและเหตุผล โรงเรียนบ้านลำทับ จัดการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ให้มีสุขภาพดี เป็นคนดี มีความสุข เกิดปัญญา และมีทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการเรียนรู้การแปรรูปผลผลิตจากการเกษตรในโรงเรียนเพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน และขยายผล สู่ครัวเรือน ชุมชนต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้ในการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตร แก่นักเรียน ผู้ปกครองและครู 2. เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ให้แก่ นักเรียน ผู้ปกครองและครู 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จ ผลผลิต 1. จำนวนนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน และครู ร้อยละ 100 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง การแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตร 2. จำนวนนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน และครู ร้อยละ 85 สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ผลลัพธ์ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ครูและผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเกษตรอินทรีย์ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ครูและผู้ปกครองนักเรียน สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน 4.กิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการ กิจกรรม ระยะเวลาการดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ 1. เขียนแผนปฏิบัติกิกรรม พฤศจิกายน 2559 2. ประชุมชี้แจง วางแผน แต่งตั้งคณะทำงาน ธันวาคม 2559 - กุมภาพันธ์ 2560 3. ดำเนินการตามแผน -จัดกิจกรรมเข้าค่าย -วิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน -นักเรียนลงปฏิบัติจริง (การแปรรูปผลผลิตจากการเกษตร) มีนาคม 2560 4. ประเมิน สรุป รายงานผล เมษายน 2560 5. ปฏิทินการปฏิบัติงาน กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เมย 1. เขียนแผนปฏิบัติการ 2. ประชุมชี้แจง วางแผน แต่งตั้งคณะทำงาน 3. ดำเนินการตามแผน - จัดกิจกรรมเข้าค่าย 4. ประเมิน สรุป รายงานผล 6. กิจกรรมและรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรม รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ ค่าตอบแทน ใช้สอย ค่าวัสดุ รวม 1.ประชุมชี้แจง ผู้รับผิดชอบโครงการ ประกอบด้วย ครู จำนวน 5 คน - - - - 2. ดำเนินการจัดกิจกรรมเข้าค่าย -วิทยากรให้ความรู้ -นักเรียน ผู้ปกครอง และครูลงมือปฏิบัติ การทำเกษตรอินทรีย์ ค่าอาหารว่าง 73 คน x 25 บาท x 6 มื้อ ค่าอาหารกลางวัน 73 คน x 50 บาท x 3 มื้อ ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน x 500 บาท x 3 วัน - - - 2,000 10,950 10,950 - - - - - - 10,950 10,950 2,000 3. รายงานผล -เอกสาร -ภาพถ่าย รวมตลอดโครงการ 2,000 21,900 23,900 7. การประเมินผล ตัวชี้วัด วิธีการประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ 1. นักเรียน ผู้ปกครองและครู มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตร สังเกต แบบสำรวจ 2.นักเรียน ผู้ปกครองและครูร้อยละ 85 สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ สอบถาม แบบสอบถาม 8. จำนวนผู้ดำเนินการกิจกรรม ข้าราชการ (คน) นักเรียน (คน) ผู้ปกครองนักเรียน (คน) วิทยากร (คน) 5 60 5 3 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียน ผู้ปกครองและครู มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตร 2. นักเรียน ผู้ปกครองและครู สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ลงชื่อ ............................................ ผู้รับผิดชอบโครงการ ลงชื่อ....................................... หัวหน้าโครงการ ( นางจิติพร โพธิการ ) (นางสาวจุรีวรรณ ชำนาญกิจ ) ครูโรงเรียนบ้านลำทับ ครูโรงเรียนบ้านลำทับ ลงชื่อ....................................................ผู้อนุมัติโครงการ (นายคณิต โอทอง) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านลำทับ

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อสร้างภาคีครือข่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการแก้ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
  2. เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในด้านสุขภาพอนามัยโภชนาการการบริโภคอาหารเชิงบูรณาการกับสหกรณ์โรงเรียนและเกษตรแบบพอเพียงในโรงเรียนสู่ชุมชน

กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมค่ายการเรียนรู้ตามโครงการตามศาสตร์พระราชา/ เข้าค่ายต้นกล้าเกษตรอินทรีย์,เชฟน้อยช่างคิด

รายละเอียดกิจกรรมหลัก : 1. เชิญวิทยากรจากศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านทุ่งไทรทองมาให้ความรู้ เรื่อง เกษตรอินทรีย์

ผลผลิต : นักเรียนมีปุ๋ยอินทรีย์ทางการเกษตร มีผลิตภัณฑ์เอนกประสงค์ มาใช้ในโรงเรียน ช่วยลดรายจ่ายของโรงเรียนได้ และนักเรียนสามารถนำผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปได้

ผลลัพธ์ : นักเรียนมีความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ รู้กระบวนการทำปุ๋ยหมัก และแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรในครัวเรือนได้

ภาคีร่วมสนับสนุน : ปราชญ์ชาวบ้าน เกษตรอำเภอลำทับ

งบประมาณ

รายการจำนวนเงิน(บาท)
1 ค่าอาหารว่าง จำนวน 72 คน
ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 72 คน
22,100.00
2 ค่าตอบแทนวิทยาการ 1,800.00
รวมเงิน 23,900.00