แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านเพียนาม

ชุมชน 299 ม.3 ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1322-083 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.37

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน สิงหาคม 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เลี้ยงปลาในกระชัง

วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรไว้เพื่อบริโภคในโครงการอาหารกลางวันนอกจากนั้นยังสามารถนำออกจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่นักเรียน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โรงเรียนบ้านเพียนามมีการผลิตทางเกษตร(ปลา) โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน โรงเรียนบ้านเพียนามมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน โรงเรียนบ้านเพียนามมีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
โรงเรียนบ้านเพียนาม มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การเลี้ยงปลา
ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม       -  จัดเตรียมสถานที่       -  ทำกระชังปลา       -  จัดซื้อพันธุ์ปลา       -  ดำเนินการเลี้ยงปลาและดูแล ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม สรุปวิเคราะห์รายงานผล นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์ วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ

กิจกรรมที่ทำจริง

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การเลี้ยงปลา
ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม จัดเตรียมสถานที่
โรงเรียนบ้านเพียนามได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเลื้ยงปลาในกระชัง พร้อมแนะนำการทำกระชังปลา
      -  ทำกระชังปลา       -  จัดซื้อพันธุ์ปลา       -  ดำเนินการเลี้ยงปลาและดูแล โดยการแบ่งนักเรียนในการดูแลตามระดับชั้น ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมการเลี้ยงปลาในแต่ล่ะครั้ง สรุปวิเคราะห์รายงานผล นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์ วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ

 

105 112

2. เลี้ยงไก่พันธ์ไข่

วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรไว้เพื่อบริโภคในโครงการอาหารกลางวันนอกจากนั้นยังสามารถนำออกจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่นักเรียน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร ไข่ไก่ในการประกอบอาหารกลางวัน โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน โรงเรียนมีการจัดทำแผนการเลื้ยงไก่ที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน โรงเรียนมีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
โรงเรียนมีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรมอาหารกลางวันและขายให้กับชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่ ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม               -  สำรวจพื้นที่               -  ปรับปรุงและก่อสร้างโรงเรือน               -  จัดซื้อไก่พันธุ์ไข่และวัสดุอุปกรณ์               -  ดำเนินการเลี้ยงไก่พันธ์ไข่และดูแล ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม สรุปวิเคราะห์รายงานผล นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์  วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม โดยการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการเลื้ยงไก่ไข่ พร้อมสาธิต และแบ่งนักเรียนตามกลุ่มรับผิดชอบ

 

216 188

3. ปลูกผักหมุนเวียน

วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรไว้เพื่อบริโภคในโครงการอาหารกลางวันนอกจากนั้นยังสามารถนำออกจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่นักเรียน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โรงเรียนมีการผลิตทางเกษตร โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียนและชุมชน โรงเรียนมีการจัดทำแผนการผลิตทางการเกษตร/ปศุสัตว์/ประมงที่สอดคล้องกับรายการอาหารกลางวันนักเรียน     ระดับ 3 : มีการนำผลผลิตไปประกอบอาหารกลางวันนักเรียนในปริมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิตต่อปี
    ระดับ 4 : มีการนำผลผลิตขายผ่านสหกรณ์ให้กับกิจกรรม อาหารกลางวันและหรือขายให้กับชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก
ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม               -  แบ่งกลุ่มการจัดเตรียมดินเพื่อเพาะปลูก               -  เตรียมพันธุ์พืช               -  ลงมือปฏิบัติ               -  การเก็บเกี่ยวผลผลิตพร้อมทั้งจำหน่าย ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรม สรุปวิเคราะห์รายงานผล นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์  วิพากย์ให้ข้อเสนอแนะ

กิจกรรมที่ทำจริง

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก
ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชุมคณะครูปรึกษาหารือ แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ เสนอกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบและเสนอแนะ ดำเนินการตามกิจกรรม               -  โรงเรียนบ้านเพียนามได้เชิญวิทยากรมาให้ความรู้เรื่องการปลูกพืชหมุนเวียน หรือการปลูกพืชผสมผสานที่เหมาะในแต่ละฤดูกาล
              -  แบ่งกลุ่มการจัดเตรียมดินเพื่อเพาะปลูก               -  ครั้งที่ 1 เดือนสิงหาคม 2559               -  ครั้งที่ 2 เดือนตุลาคม 2559 ประเมินผลเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมในแต่ละครั้ง สรุปวิเคราะห์รายงานผล นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูวิเคราะห์

 

94 94

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 18 3                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 100,000.00 40,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 12 9                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ( 3 ต.ค. 2559 - 11 ส.ค. 2560 )
  2. การจัดบริการสุขภาพของนักเรียน ( 3 ต.ค. 2559 - 10 ก.พ. 2560 )
  3. เปิดศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ( 3 ต.ค. 2559 - 10 ก.ย. 2560 )
  4. เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน ( 3 ต.ค. 2559 - 11 ส.ค. 2560 )
  5. รายงานงวดที่ 2 ( 3 ต.ค. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  6. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 ( 24 ต.ค. 2559 )
  7. การนิเทศ กำกับติดตาม ( 28 ก.พ. 2560 - 1 มี.ค. 2560 )

(................................)
นายอนุชา ปัญญานนท์
ผู้รับผิดชอบโครงการ