ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านเพียนาม

รหัสโครงการ ศรร.1322-083 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.37 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

 

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

 

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

 

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

 

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก การเลี้ยงปลา การเพาะเห็ด การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่

ดังรูปในกิจกรรมที่ 7

จัดบูรณาการเข้ากับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละสาระการเรียนรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก การเลี้ยงปลา การเพาะเห็ด การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่

ดังรูปในกิจกรรมที่ 7

ดำเนินการต่อ โดยให้นักเรียนแกนนำ ดำเนินการโดยผ่านโครงการพี่สอนน้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

ดำเนินงานด้านการเกษตรในโรงเรียนดังนี้ การปลูกผัก การเลี้ยงปลา การเพาะเห็ด การเลี้ยงไก่พันธ์ไข่

ดังรูปในกิจกรรมที่ 7

ดำเนินการต่อ โดยให้นักเรียนแกนนำ ดำเนินการโดยผ่านโครงการพี่สอนน้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ยผัก วันละประมาณ 40-100 กรัม อนุบาล 3 ช้อน ( 50 กรัม) ประถม 4 ช้อน ( 70 กรัม)ผลไม้(อนุบาล ½ ส่วน ประถม1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

ดังรูปในกิจกรรมที่ 9

ให้ความสำคัญกับเด็กนักเรียนด้านสุขภาวะโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนได้กินผัก – ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน เฉลี่ยผัก วันละประมาณ 40-100 กรัม อนุบาล 3 ช้อน ( 50 กรัม) ประถม 4 ช้อน ( 70 กรัม)ผลไม้(อนุบาล ½ ส่วน ประถม1 ส่วน) ต่อมื้อต่อคน

ดังรูปในกิจกรรมที่ 9

ให้ความสำคัญกับเด็กนักเรียนด้านสุขภาวะโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ให้ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน

ดังรูปในกิจกรรมที่7

ดำเนินการต่อโดยให้ชุมชน มามีส่วนร่วม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ดำเนินโครงการตามโปรแกรม แต่วัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวัน ขึ้นอยู่กับผลผลิตในโรงเรียน

ดังรูปในกิจกรรมที่ 9

ดำเนินการโดยยึด โปรแกรม Thai School Lunch เป็นหลัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

รพ.สต. หนองไผ่ เข้ามาติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ให้กับโรงเรียนบ้านเพียนาม

ดังรูปในกิจกรรมที่ 11

ขอความอนุเคราะห์จาก รพ.สต. หนองไผ่ และให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย nan nan% 0.75 0.75% 0.00 0.00% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย nan nan% 6.02 6.02% 4.88 4.88% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan% nan nan%
ผอม 2.26 2.26% 0.00 0.00% 1.64 1.64% 1.53 1.53% 5.76 5.76% 5.76 5.76% 3.47 3.47% 2.78 2.78%
ผอม+ค่อนข้างผอม 4.51 4.51% 3.94 3.94% 6.56 6.56% 6.11 6.11% 10.79 10.79% 10.79 10.79% 9.03 9.03% 6.94 6.94%
อ้วน 2.26 2.26% 0.00 0.00% 0.82 0.82% 1.53 1.53% 5.04 5.04% 5.76 5.76% 6.25 6.25% 7.64 7.64%
เริ่มอ้วน+อ้วน 2.26% 2.26% 2.36% 2.36% 2.46% 2.46% 5.34% 5.34% 13.67% 13.67% 13.67% 13.67% 13.19% 13.19% 12.50% 12.50%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

จัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนรายบุคคล 135 คน -ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง ทำการทดสอบสมรรถภาพทางกายนักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 จำนวน 135 คน

ดังรูปในกิจกรรมที่ 11

ทำเอกสารให้เป็นปัจจุบันทุกครั้ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ให้ความสำคัญ กับสุขภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน

ดังรูปในกิจกรรมที่ 11

ให้ความสำคัญ กับสุขภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ให้ความสำคัญ กับสุขภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน โดยจัดการอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม

รายงาน ภาวะโภชนาการของโรงเรียน

รายงานและดำเนินการตามโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จัดทำโดย รพ.สต หนองไผ่ เข้ามาให้ความช่วยเหลือ

รายงานภาวะโภชนาการในแจ่ละปีการศึกษา

มีการตรวจสอบสุขภาวะโถชนาการทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ประชุมผู้ปกครอง ช่วยกันหาทางแก้ไข

ดังรูปในกิจกรรมที่ 13

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนและชุมชนเขตบริการองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) เพื่อให้โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) เพื่อให้ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

กิจกรรมหลักคือ (1) เกษตรเพื่อชีวิตพื้นเศรษฐกิจชุมชน (2) สหกรณ์นักเรียนเปลี่ยนวิถีชีวิต (3) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม (4) การจัดบริการสุขภาพของนักเรียน (5) เปิดศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (6) เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน (7) การจัดการเรียนรู้ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย (8) การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เลี้ยงปลาในกระชัง (2) เลี้ยงไก่พันธ์ไข่ (3) ปลูกผักหมุนเวียน (4) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม (5) การจัดบริการสุขภาพของนักเรียน (6) เปิดศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ (7) เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน (8) โรงเรียนสวยด้วยมือเรา (9) การเรียนรู้โภชนาการสมวัยเด็กไทยแก้มใส (10) ออกกำลังกายเพื่อให้ได้สมรรถภาพแข็งแรง (11) รายงานงวดที่ 2 (12) ประชุมติดตามการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 (13) รายงานงวดที่ 1 (14) การนิเทศ กำกับติดตาม (15) ถอนเงินเปิดบัญชี (16) คืนดอกเบี้ยโครงการ (17) รายงานฉบับสมบูรณ์ (18) ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh